ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด

โรคหัวใจขาดเลือดเป็นโรคของหลอดเลือดแดงที่มีการตีบแคบจากคราบไขมันอุดตัน ทำให้ เกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก การรักษามีทั้งการใช้ยา การทำหัตถการ และการปรับเปลี่ยนแบบแผนการ ดำเนินชีวิต การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กันยารัตน์ ลาสุธรรม, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, อรสา พันธ์ภักดี, Kanyarat Lasutham, Apinya Siripitayakunkit, Orasa Panpakdee
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44589
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.44589
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic พระสงฆ์
ความตั้งใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลตนเอง
โรคหัวใจขาดเลือด
Monks
Intention to perform self-care behavior
Self-care behavior
Coronary artery Disease
spellingShingle พระสงฆ์
ความตั้งใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลตนเอง
โรคหัวใจขาดเลือด
Monks
Intention to perform self-care behavior
Self-care behavior
Coronary artery Disease
กันยารัตน์ ลาสุธรรม
อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ
อรสา พันธ์ภักดี
Kanyarat Lasutham
Apinya Siripitayakunkit
Orasa Panpakdee
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด
description โรคหัวใจขาดเลือดเป็นโรคของหลอดเลือดแดงที่มีการตีบแคบจากคราบไขมันอุดตัน ทำให้ เกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก การรักษามีทั้งการใช้ยา การทำหัตถการ และการปรับเปลี่ยนแบบแผนการ ดำเนินชีวิต การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด กรอบแนวคิดการวิจัยคือ ทฤษฎีการดูแลตนเองของ โอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นพระสงฆ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจขาดเลือด มารับบริการที่โรงพยาบาล สงฆ์ จำนวน 75 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการ ดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด แบบสัมภาษณ์ความตั้งใจในการปฏิบัติ พฤติกรรมสุขภาพ และแบบสัมภาษณ์ความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ บรรยายและหาความสัมพันธ์ด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า พระสงฆ์มีอายุระหว่าง 37- 90 ปี ส่วนใหญ่อยู่ในวัยสูงอายุ โรคประจำตัวที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด คะแนนความ ตั้งใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ ความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือด และพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือดอยู่ในระดับมาก แต่พบว่าพระสงฆ์บางส่วนขาดความตั้งใจ ในการเลิกสูบบุหรี่ มีกิจกรรมทางกายน้อย ไม่รู้วิธีจับชีพจรหรือวิธีการอมยาอมใต้ลิ้น ไม่พบความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยพื้นฐานของพระสงฆ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจ ขาดเลือด ส่วนความตั้งใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือดมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือดอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่าพยาบาลควรส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจ ขาดเลือดโดยเน้นย้ำการควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางด้านเมตาบอลิก การใช้ยาอมใต้ลิ้น แนะนำการมีกิจกรรม ทางกายตามสมรรถนะและไม่ขัดกับพระธรรมวินัย และจัดทำโปรแกรมเลิกสูบบุหรี่ด้วยเทคนิคสร้างเสริม แรงจูงใจในการเลิกบุหรี่ ดังนั้นการช่วยให้พระสงฆ์สามารถประเมินปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจขาดเลือด จะทำให้พระสงฆ์ปฏิบัติการดูแลตนเองและป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจขาดเลือดได้ดีขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
กันยารัตน์ ลาสุธรรม
อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ
อรสา พันธ์ภักดี
Kanyarat Lasutham
Apinya Siripitayakunkit
Orasa Panpakdee
format Article
author กันยารัตน์ ลาสุธรรม
อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ
อรสา พันธ์ภักดี
Kanyarat Lasutham
Apinya Siripitayakunkit
Orasa Panpakdee
author_sort กันยารัตน์ ลาสุธรรม
title ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด
title_short ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด
title_full ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด
title_fullStr ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด
title_full_unstemmed ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด
title_sort ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44589
_version_ 1763494876219965440
spelling th-mahidol.445892023-03-30T17:09:14Z ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด Factors Related to Self-Care Behavior of Thai Buddhist Monks with Coronary Artery Disease กันยารัตน์ ลาสุธรรม อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ อรสา พันธ์ภักดี Kanyarat Lasutham Apinya Siripitayakunkit Orasa Panpakdee มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี พระสงฆ์ ความตั้งใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง โรคหัวใจขาดเลือด Monks Intention to perform self-care behavior Self-care behavior Coronary artery Disease โรคหัวใจขาดเลือดเป็นโรคของหลอดเลือดแดงที่มีการตีบแคบจากคราบไขมันอุดตัน ทำให้ เกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก การรักษามีทั้งการใช้ยา การทำหัตถการ และการปรับเปลี่ยนแบบแผนการ ดำเนินชีวิต การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด กรอบแนวคิดการวิจัยคือ ทฤษฎีการดูแลตนเองของ โอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นพระสงฆ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจขาดเลือด มารับบริการที่โรงพยาบาล สงฆ์ จำนวน 75 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการ ดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือด แบบสัมภาษณ์ความตั้งใจในการปฏิบัติ พฤติกรรมสุขภาพ และแบบสัมภาษณ์ความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ บรรยายและหาความสัมพันธ์ด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า พระสงฆ์มีอายุระหว่าง 37- 90 ปี ส่วนใหญ่อยู่ในวัยสูงอายุ โรคประจำตัวที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด คะแนนความ ตั้งใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ ความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือด และพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือดอยู่ในระดับมาก แต่พบว่าพระสงฆ์บางส่วนขาดความตั้งใจ ในการเลิกสูบบุหรี่ มีกิจกรรมทางกายน้อย ไม่รู้วิธีจับชีพจรหรือวิธีการอมยาอมใต้ลิ้น ไม่พบความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยพื้นฐานของพระสงฆ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจ ขาดเลือด ส่วนความตั้งใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือดมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคหัวใจขาดเลือดอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่าพยาบาลควรส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจ ขาดเลือดโดยเน้นย้ำการควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางด้านเมตาบอลิก การใช้ยาอมใต้ลิ้น แนะนำการมีกิจกรรม ทางกายตามสมรรถนะและไม่ขัดกับพระธรรมวินัย และจัดทำโปรแกรมเลิกสูบบุหรี่ด้วยเทคนิคสร้างเสริม แรงจูงใจในการเลิกบุหรี่ ดังนั้นการช่วยให้พระสงฆ์สามารถประเมินปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจขาดเลือด จะทำให้พระสงฆ์ปฏิบัติการดูแลตนเองและป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจขาดเลือดได้ดีขึ้น Coronary artery disease (CAD) is a condition which affects the arteries, caused by atherosclerosis. Treatment of CAD involves taking medication as prescribed, possibly undergoing invasive procedures, and making lifestyle changes. This descriptive research aimed to investigate factors related to self-care behaviors among Thai Buddhist monks with CAD. Orem’s Self-Care Theory was used as the conceptual framework. Altogether, 75 Thai Buddhist monks who had CAD and received medical services at the Priest Hospital were recruited as participants. Data were collected using four questionnaires assessing personal data, self-care behavior, intention to perform self-care behavior, and knowledge about CAD. Descriptive statistics and correlation coefficients were used to analyze the data. The age of the sample ranged from 37 to 90 years, where most are older persons, and had underlying diseases. Results showed that monks with CAD had a high level of intention to perform self-care behavior, knowledge about CAD, and self-care behavior. However, few monks attempted to quit smoking, exercised regularly, and did not know how to take pain relief medication, nor pulse taking skills. There was no relationship between basic conditioning factors and self-care behavior, but a significant correlation was found among the intention to perform self-care behavior, knowledge about CAD, and self-care behavior in Thai Buddhist monks. The study findings shed light on the roles of nurses in terms of disseminating knowledge, teaching how to control metabolic risk factors, use sublingual medication, and perform appropriate physical activities under monks’ disciplines, as well as initiating smoking cessation program. For the smoking cessation program, motivational interviewing should be used as a strategy to encourage intention to perform smoking cessation in CAD monks so that they would be able to assess risk factors of CAD, perform self-care, and prevent possible complications of CAD. 2019-08-19T07:39:14Z 2019-08-19T07:39:14Z 2562-08-19 2561 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 24, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 313-327 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44589 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf