ผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลหลังการทดลองเพื่อศึกษาผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก กลุ่มตัวอย่างเป็นทารกเกิดก่อนกำหนดท...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชลธิชา กุลัดนาม, เรณู พุกบุญมี, พิศสมัย อรทัย, Chonticha Kuladnarm, Renu Pookboonmee, Pisamai Orathai
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47932
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.47932
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ทารกเกิดก่อนกำหนด
เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก
ระยะเวลา
ความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Mechanical ventilator weaning protocol
Preterm infants
Ventilator-nasal continuous positive airway pressure
Ventilator duration
Weaning success
spellingShingle ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ทารกเกิดก่อนกำหนด
เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก
ระยะเวลา
ความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Mechanical ventilator weaning protocol
Preterm infants
Ventilator-nasal continuous positive airway pressure
Ventilator duration
Weaning success
ชลธิชา กุลัดนาม
เรณู พุกบุญมี
พิศสมัย อรทัย
Chonticha Kuladnarm
Renu Pookboonmee
Pisamai Orathai
ผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก
description การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลหลังการทดลองเพื่อศึกษาผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก กลุ่มตัวอย่างเป็นทารกเกิดก่อนกำหนดที่เข้ารับการรักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูกในหอผู้ป่วยวิกฤตกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลสิรินธร กลุ่มควบคุม จำนวน 29 ราย ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามการปฏิบัติปกติ และกลุ่มทดลอง จำนวน 30 ราย ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาล ซึ่งประกอบด้วย 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ 2) ระยะหย่าเครื่องช่วยหายใจ และ 3) ระยะหลังหย่าเครื่องช่วยหายใจเครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาล แบบบันทึกการปฏิบัติตามขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาล และแบบบันทึกการใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย สถิติไคสแควร์ สถิติความน่าจะเป็นของฟิชเชอร์ สถิติที และสถิติแมนวิทนีย์ ยู ผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาการใช้เครื่องช่วยหายใจของทารกเกิดก่อนกำหนดกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจของกลุ่มทดลองไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลสามารถลดระยะเวลาการใช้เครื่องช่วยหายใจแต่ไม่สามารถเพิ่มความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูกได้ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการวัดความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้อาการทางคลินิกร่วมด้วยเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูกให้ดียิ่งขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
ชลธิชา กุลัดนาม
เรณู พุกบุญมี
พิศสมัย อรทัย
Chonticha Kuladnarm
Renu Pookboonmee
Pisamai Orathai
format Article
author ชลธิชา กุลัดนาม
เรณู พุกบุญมี
พิศสมัย อรทัย
Chonticha Kuladnarm
Renu Pookboonmee
Pisamai Orathai
author_sort ชลธิชา กุลัดนาม
title ผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก
title_short ผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก
title_full ผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก
title_fullStr ผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก
title_full_unstemmed ผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก
title_sort ผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47932
_version_ 1763495158783934464
spelling th-mahidol.479322023-03-30T20:19:26Z ผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก Effects of Nurse-Led Mechanical Ventilator Weaning Protocol on Ventilator Duration and Weaning Success in Preterm Infants with Ventilator-Nasal Continuous Positive Airway Pressure ชลธิชา กุลัดนาม เรณู พุกบุญมี พิศสมัย อรทัย Chonticha Kuladnarm Renu Pookboonmee Pisamai Orathai มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ทารกเกิดก่อนกำหนด เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก ระยะเวลา ความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ Mechanical ventilator weaning protocol Preterm infants Ventilator-nasal continuous positive airway pressure Ventilator duration Weaning success การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลหลังการทดลองเพื่อศึกษาผลของการใช้ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลต่อระยะเวลาการใช้และความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก กลุ่มตัวอย่างเป็นทารกเกิดก่อนกำหนดที่เข้ารับการรักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูกในหอผู้ป่วยวิกฤตกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลสิรินธร กลุ่มควบคุม จำนวน 29 ราย ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามการปฏิบัติปกติ และกลุ่มทดลอง จำนวน 30 ราย ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาล ซึ่งประกอบด้วย 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ 2) ระยะหย่าเครื่องช่วยหายใจ และ 3) ระยะหลังหย่าเครื่องช่วยหายใจเครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาล แบบบันทึกการปฏิบัติตามขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาล และแบบบันทึกการใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย สถิติไคสแควร์ สถิติความน่าจะเป็นของฟิชเชอร์ สถิติที และสถิติแมนวิทนีย์ ยู ผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาการใช้เครื่องช่วยหายใจของทารกเกิดก่อนกำหนดกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจของกลุ่มทดลองไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าขั้นตอนปฏิบัติเพื่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจนำโดยพยาบาลสามารถลดระยะเวลาการใช้เครื่องช่วยหายใจแต่ไม่สามารถเพิ่มความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูกได้ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการวัดความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้อาการทางคลินิกร่วมด้วยเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่องทางจมูกให้ดียิ่งขึ้น This quasi-experimental research with non-randomized control group, posttest only design aimed to investigate the effects of nurse-led mechanical ventilator weaning protocol on ventilator duration and weaning success in preterm infants with ventilator-nasal continuous positive airway pressure (V-NCPAP). The study sample consisted of preterm infants who received V-NCPAP and were admitted into the pediatric and neonatal intensive care unit (P-NICU) at Sirindhorn Hospital. Twenty nine subjects in the control group received routine weaning, while thirty subjects in the experimental group received the nurse-led mechanical ventilator weaning protocol which consisted of 3 phases: 1) pre-weaning 2) inter-weaning and 3) post-weaning. The research instruments included of the Nurse-led Mechanical Ventilator Weaning Protocol, the V-NCPAP Record form and the Nursing Record form based on the Nurse-led Mechanical Ventilator Weaning Protocol. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square test, Fisher’s exact test, independent t-test, and Mann-Whitney U test. The study findings demonstrated that preterm infants in the experimental group had ventilator duration shorter than that of the preterm infants in the control group with statistical significance, while weaning success in the experimental group had no significant difference with the control group. The study findings revealed that the nurse-led mechanical ventilator weaning protocol could reduce ventilator duration but could not induce weaning success. Therefore, further studies on using clinical outcomes as parameters of weaning success are needed for enhancing the quality of care provided to preterm infants with V-NCPAP. 2019-10-21T07:36:02Z 2019-10-21T07:36:02Z 2562-10-21 2560 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 23, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560), 129-144 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47932 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรีียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf