ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด
การศึกษาวิจัยย้อนหลังครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการ เกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด ที่โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2552 ถึงธันวาคม พ.ศ. 2558 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 2,745 ราย มีผู้ป่วยที่เกิดภาวะสมอง ขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดจำนวน 48 ราย ส...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47934 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.47934 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ภาวะสมองขาดเลือด ผลลัพธ์ ปัจจัยเสี่ยง การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Stroke Outcomes Risk factors Open heart surgery |
spellingShingle |
ภาวะสมองขาดเลือด ผลลัพธ์ ปัจจัยเสี่ยง การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Stroke Outcomes Risk factors Open heart surgery สุธีรา ใจสอาด กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ นิโรบล กนกสุนทรรัตน์ Suteera Jaisa-ard Kusuma Khuwatsamrit Nirobol Kanogsunthornrat ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด |
description |
การศึกษาวิจัยย้อนหลังครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการ
เกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด ที่โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนมกราคม
พ.ศ. 2552 ถึงธันวาคม พ.ศ. 2558 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 2,745 ราย มีผู้ป่วยที่เกิดภาวะสมอง
ขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดจำนวน 48 ราย สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการจับคู่ด้วยเพศและอายุ
ในอัตราส่วน 1:3 มีกลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้จำนวน 192 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียน
ออนไลน์ และลงบันทึกในแบบประเมินผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือด
หลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติวิเคราะห์ด้วยการหาค่าสัดส่วน
ความเสี่ยง (odds ratio) ทดสอบด้วยไคสแควร์ และฟิชเชอร์ ผลการวิจัยพบว่า ภาวะสมองขาดเลือด
หลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดมีอุบัติการณ์ร้อยละ 1.75 และมีอัตราเสียชีวิตร้อยละ 20.83 อัตราการ
เสียชีวิตและจำนวนวันนอนโรงพยาบาลคิดเป็น 5.2 และ 2.1 เท่าของกลุ่มที่ไม่เกิดภาวะสมองขาด
เลือดหลังผ่าตัด ตามลำดับ ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจ
แบบเปิด ในระยะก่อนการผ่าตัด ได้แก่ โรคร่วมก่อนผ่าตัด (โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะหัวใจ
เต้นผิดจังหวะชนิดหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว) ประวัติการเคยผ่าตัดหัวใจมาก่อน และระดับความรุนแรง
ของโรคตามหลักการประเมินของสมาคมโรคหัวใจแห่งนิวยอร์ก ปัจจัยเสี่ยงในระยะระหว่างการ
ผ่าตัด ได้แก่ การใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียม ระยะเวลาในการใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียม และ
การใช้เครื่องพยุงการทำงานของหัวใจ ปัจจัยเสี่ยงในระยะหลังการผ่าตัด ได้แก่ การเกิดใหม่ของ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว และการเกิดใหม่ของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ชนิดหัวใจห้องบนสั่นพริ้วร่วมกับมีความดันซิสโตลิกต่่ำกว่า 90 มม. ปรอท ผลการศึกษาครั้งนี้
สามารถนำข้อมูลผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงไปเป็นข้อมูลของการวางแผนพัฒนาแนวทางการปฏิบัติ
พยาบาลในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด เพื่อลดอัตราการเสียชีวิต
และจำนวนวันนอนโรงพยาบาล |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี สุธีรา ใจสอาด กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ นิโรบล กนกสุนทรรัตน์ Suteera Jaisa-ard Kusuma Khuwatsamrit Nirobol Kanogsunthornrat |
format |
Article |
author |
สุธีรา ใจสอาด กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ นิโรบล กนกสุนทรรัตน์ Suteera Jaisa-ard Kusuma Khuwatsamrit Nirobol Kanogsunthornrat |
author_sort |
สุธีรา ใจสอาด |
title |
ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด |
title_short |
ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด |
title_full |
ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด |
title_fullStr |
ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด |
title_full_unstemmed |
ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด |
title_sort |
ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47934 |
_version_ |
1763494653632446464 |
spelling |
th-mahidol.479342023-03-31T02:41:28Z ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Outcomes and Risk Factors in Post Operative Open Heart Surgery Stroke สุธีรา ใจสอาด กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ นิโรบล กนกสุนทรรัตน์ Suteera Jaisa-ard Kusuma Khuwatsamrit Nirobol Kanogsunthornrat มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ภาวะสมองขาดเลือด ผลลัพธ์ ปัจจัยเสี่ยง การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Stroke Outcomes Risk factors Open heart surgery การศึกษาวิจัยย้อนหลังครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการ เกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด ที่โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2552 ถึงธันวาคม พ.ศ. 2558 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 2,745 ราย มีผู้ป่วยที่เกิดภาวะสมอง ขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดจำนวน 48 ราย สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการจับคู่ด้วยเพศและอายุ ในอัตราส่วน 1:3 มีกลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้จำนวน 192 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียน ออนไลน์ และลงบันทึกในแบบประเมินผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือด หลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติวิเคราะห์ด้วยการหาค่าสัดส่วน ความเสี่ยง (odds ratio) ทดสอบด้วยไคสแควร์ และฟิชเชอร์ ผลการวิจัยพบว่า ภาวะสมองขาดเลือด หลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดมีอุบัติการณ์ร้อยละ 1.75 และมีอัตราเสียชีวิตร้อยละ 20.83 อัตราการ เสียชีวิตและจำนวนวันนอนโรงพยาบาลคิดเป็น 5.2 และ 2.1 เท่าของกลุ่มที่ไม่เกิดภาวะสมองขาด เลือดหลังผ่าตัด ตามลำดับ ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะสมองขาดเลือดหลังผ่าตัดหัวใจ แบบเปิด ในระยะก่อนการผ่าตัด ได้แก่ โรคร่วมก่อนผ่าตัด (โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะหัวใจ เต้นผิดจังหวะชนิดหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว) ประวัติการเคยผ่าตัดหัวใจมาก่อน และระดับความรุนแรง ของโรคตามหลักการประเมินของสมาคมโรคหัวใจแห่งนิวยอร์ก ปัจจัยเสี่ยงในระยะระหว่างการ ผ่าตัด ได้แก่ การใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียม ระยะเวลาในการใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียม และ การใช้เครื่องพยุงการทำงานของหัวใจ ปัจจัยเสี่ยงในระยะหลังการผ่าตัด ได้แก่ การเกิดใหม่ของ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว และการเกิดใหม่ของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดหัวใจห้องบนสั่นพริ้วร่วมกับมีความดันซิสโตลิกต่่ำกว่า 90 มม. ปรอท ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำข้อมูลผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงไปเป็นข้อมูลของการวางแผนพัฒนาแนวทางการปฏิบัติ พยาบาลในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด เพื่อลดอัตราการเสียชีวิต และจำนวนวันนอนโรงพยาบาล The purpose of this retrospective research was to explore outcomes and identify risk factors of stroke after open heart surgery. The sample drawn from patients who underwent open heart surgery from January 2009 to December 2015. There were 48 stroke cases out of 2,475 cases who developed stroke and they were compared with age-and gender-matched patient without stroke at a 1:3 ratio. The sample was 192 cases. The data of postoperative open heart surgery stroke were collected from online medical records. Data was analyzed using descriptive statistics while analytical statistics including odds ratio, chi-square test, and Fisher's exact test were used. The results showed that the incidence of postoperative stroke after open heart surgery were 1.75 % and mortality rate was 20.83%. Moreover, the mortality rate and the average length of stay of patients with postoperative stroke were 5.2 and 2.1 times more than the none postoperative stroke respectively. In addition, the risk factors during the pre-operative period were co-morbidity (prior cerebrovascular disease and atrial fibrillation), past illness history and the severity based on New York Heart Association (NYHA) functional classification. The risk factors during peri-operative period were the cardiopulmonary bypass (CPB), duration of CPB, and the use of intra aortic balloon pump. Risk factors during the post-operative period were new atrial fibrillation (AF) and new AF with systolic blood pressure lower than 90 mmHg. In conclusion, the results of this study could be used to develop a nursing care plan for a high risk group in order to reduce mortality and length of hospital stay. 2019-10-21T08:56:08Z 2019-10-21T08:56:08Z 2562-10-21 2560 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 23, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560), 178-194 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47934 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |