ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชนกึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษาความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับ อาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการของประชาชนในชุมชนกึ่งชนบท กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนหมู่บ้านแห่งหนึ่งในอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 200 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการประเมินภาวะโ...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47946 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.47946 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร ภาวะโภชนาการ ชุมชนกึ่งชนบท Nutritional knowledge Attitude toward food Food consumption behavior Nutritional status Semi rural community |
spellingShingle |
ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร ภาวะโภชนาการ ชุมชนกึ่งชนบท Nutritional knowledge Attitude toward food Food consumption behavior Nutritional status Semi rural community อมรรัตน์ นธะสนธิ์ นพวรรณ เปียซื่อ ไพลิน พิณทอง Amornrat Natason Noppawan Piaseu Pailin Pinthong ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชนกึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี |
description |
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษาความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับ
อาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการของประชาชนในชุมชนกึ่งชนบท
กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนหมู่บ้านแห่งหนึ่งในอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 200 ราย
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ
บรรยายและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า ตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ย
ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร และพฤติกรรมการรับประทานอาหารคิดเป็น
ร้อยละ 59.16, 66.83, และ 62.77 ของคะแนนรวม ตามลำดับ โดยพบว่า มีคะแนนเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในการรับประทานอาหารที่มีไขมันมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบ
กับอาหารประเภทอื่น ตัวอย่างร้อยละ 43 มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 22.50, 13,
และ 7.50 มีภาวะโภชนาการเกิน อ้วน และต่ำกว่าเกณฑ์ ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย
(22.18±2.76 กก./ม2
) และเส้นรอบเอว (78.01±7.86 ซม.) อยู่ในเกณฑ์ปกติ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ
81.50) มีสัดส่วนของเส้นรอบเอวต่อสะโพกอยู่ในเกณฑ์มากกว่าปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
0.87±.05 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า พฤติกรรมการรับประทานอาหารมีความสัมพันธ์
ทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะโภชนาการ (ดัชนีมวลกาย) ของประชาชน อายุมี
ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวก
กับความรู้ทางโภชนาการและรายได้ของครอบครัวต่อเดือน ผลการศึกษาสามารถนำมาใช้เป็น
แนวทางในการพัฒนาโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพด้านโภชนาการโดยการให้ความรู้ทางโภชนาการ
และสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารให้เหมาะสม |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี อมรรัตน์ นธะสนธิ์ นพวรรณ เปียซื่อ ไพลิน พิณทอง Amornrat Natason Noppawan Piaseu Pailin Pinthong |
format |
Article |
author |
อมรรัตน์ นธะสนธิ์ นพวรรณ เปียซื่อ ไพลิน พิณทอง Amornrat Natason Noppawan Piaseu Pailin Pinthong |
author_sort |
อมรรัตน์ นธะสนธิ์ |
title |
ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชนกึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี |
title_short |
ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชนกึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี |
title_full |
ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชนกึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี |
title_fullStr |
ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชนกึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี |
title_full_unstemmed |
ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชนกึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี |
title_sort |
ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชนกึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47946 |
_version_ |
1763489848878956544 |
spelling |
th-mahidol.479462023-03-31T04:06:17Z ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชนกึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี Nutritional Knowledge, Attitude toward Food, Food Consumption Behavior, and Nutritional Status in Semi-rural Community, Ubon Ratchathani Province อมรรัตน์ นธะสนธิ์ นพวรรณ เปียซื่อ ไพลิน พิณทอง Amornrat Natason Noppawan Piaseu Pailin Pinthong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร ภาวะโภชนาการ ชุมชนกึ่งชนบท Nutritional knowledge Attitude toward food Food consumption behavior Nutritional status Semi rural community การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษาความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับ อาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการของประชาชนในชุมชนกึ่งชนบท กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนหมู่บ้านแห่งหนึ่งในอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 200 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ บรรยายและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า ตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ย ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร และพฤติกรรมการรับประทานอาหารคิดเป็น ร้อยละ 59.16, 66.83, และ 62.77 ของคะแนนรวม ตามลำดับ โดยพบว่า มีคะแนนเฉลี่ยของความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในการรับประทานอาหารที่มีไขมันมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบ กับอาหารประเภทอื่น ตัวอย่างร้อยละ 43 มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 22.50, 13, และ 7.50 มีภาวะโภชนาการเกิน อ้วน และต่ำกว่าเกณฑ์ ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย (22.18±2.76 กก./ม2 ) และเส้นรอบเอว (78.01±7.86 ซม.) อยู่ในเกณฑ์ปกติ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 81.50) มีสัดส่วนของเส้นรอบเอวต่อสะโพกอยู่ในเกณฑ์มากกว่าปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.87±.05 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า พฤติกรรมการรับประทานอาหารมีความสัมพันธ์ ทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะโภชนาการ (ดัชนีมวลกาย) ของประชาชน อายุมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวก กับความรู้ทางโภชนาการและรายได้ของครอบครัวต่อเดือน ผลการศึกษาสามารถนำมาใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพด้านโภชนาการโดยการให้ความรู้ทางโภชนาการ และสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารให้เหมาะสม This survey research aimed to describe nutritional knowledge, attitude toward food, food consumption behavior and nutritional status, and to examine the associations between these factors among community dwellers. The sample included 200 community dwellers living in Warin Chamrap District, Ubon Ratchathani Province. Data were collected using self-reported questionnaires and nutritional assessment. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman, s correlation coefficient. Results revealed that average scores as calculated by mean percent for nutritional knowledge, attitude toward food, and food consumption behavior were 59.16%, 66.83%, and 62.77%, respectively. The sample had less mean score percentage of nutritional knowledge, attitude toward food, and food consumption behavior, particularly for dietary fat intake, as compared to other food intakes. Regarding nutritional status, 43 % of the sample had normal body mass index (BMI), while, 22.50%, 13 %, and 7.50% of them were overweight, obesity, and underweight, respectively. However, the average of BMI (22.18±2.76 kg/m2 ) and waist circumference (78.01±7.86 cm.) were normal. The majority of the sample (81.50%) had abnormal waist hip ratio with average of 0.87±.05. Significant negative correlations were found between food consumption behavior and BMI. Age had a positively significant correlation with food consumption behavior. Education level had a positively significant relation to nutritional knowledge and family income. Results in this study should be used as information for developing a nutritional health promotion program related to nutrition knowledge, and promoting appropriate food consumption behaviors to improve nutritional status of this population. 2019-10-22T09:41:42Z 2019-10-22T09:41:42Z 2562-10-22 2560 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 23, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 344-357 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47946 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |