ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลังการทดลองเพื่อศึกษาผลของการ ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนัง บริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก กลุ่ม ตัวอย่างเป็นทารกเกิดก่อนกำหนดอายุ 1-...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47950 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.47950 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
แนวปฏิบัติการพยาบาล การบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูก ทารกเกิดก่อนกำหนด แรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก Clinical nursing practice guideline Nasal skin injury Premature infants Nasal continuous positive airway pressure |
spellingShingle |
แนวปฏิบัติการพยาบาล การบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูก ทารกเกิดก่อนกำหนด แรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก Clinical nursing practice guideline Nasal skin injury Premature infants Nasal continuous positive airway pressure พัดชา ชินธนาวงศ์ เรณู พุกบุญมี พิศสมัย อรทัย Padhcha Chinthanawongsa Renu Pookboonmee Pisamai Orathai ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก |
description |
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลังการทดลองเพื่อศึกษาผลของการ
ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนัง
บริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก กลุ่ม
ตัวอย่างเป็นทารกเกิดก่อนกำหนดอายุ 1-28 วัน ที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกโดยใช้อุปกรณ์
นาซอล พรองส์ ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด โรงพยาบาลชลบุรี คัดเลือกตัวอย่าง
แบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดได้กลุ่มควบคุม 29 รายและกลุ่มทดลอง 30 ราย กลุ่มควบคุม
ได้รับการพยาบาลตามปกติและกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกัน
การบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูก ประกอบด้วยแนวปฏิบัติรวม 7 ด้าน ได้แก่ 1) การเลือกขนาดนาซอล
พรองส์ 2) การใส่และการยึดตรึง 3) การดูแลขณะทารกใส่นาซอล พรองส์ 4) การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
5) การดูดสารคัดหลั่งในรูจมูก 6) การปรับตั้งเครื่องให้ความชื้นและอุณหภูมิที่เหมาะสม และ 7) การ
ดูแลเพื่อส่งเสริมความสุขสบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบบันทึกข้อมูลพื้นฐาน
แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูก แบบบันทึกการพยาบาลตามแนว
ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูก และแบบประเมินการบาดเจ็บของ
ผิวหนังบริเวณจมูก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย สถิติไคสแควร์ สถิติที และสถิติแมน-วิทนีย์ ยู
ผลการศึกษาพบว่า การบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกของกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของ
ผิวหนังบริเวณจมูกสามารถลดการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกได้ ดังนั้นควรมีการส่งเสริมให้มีการนำ
แนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของการพยาบาลทารกเกิดก่อนก ำหนดเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูกให้ดียิ่งขึ้น |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี พัดชา ชินธนาวงศ์ เรณู พุกบุญมี พิศสมัย อรทัย Padhcha Chinthanawongsa Renu Pookboonmee Pisamai Orathai |
format |
Article |
author |
พัดชา ชินธนาวงศ์ เรณู พุกบุญมี พิศสมัย อรทัย Padhcha Chinthanawongsa Renu Pookboonmee Pisamai Orathai |
author_sort |
พัดชา ชินธนาวงศ์ |
title |
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก |
title_short |
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก |
title_full |
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก |
title_fullStr |
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก |
title_full_unstemmed |
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก |
title_sort |
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47950 |
_version_ |
1763496524826804224 |
spelling |
th-mahidol.479502023-03-30T22:20:35Z ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก The Effect of Clinical Nursing Practice Guidelines to Prevent Nasal Skin Injury on Nasal Skin Injury of Premature Infants with Nasal Continuous Positive Airway Pressure พัดชา ชินธนาวงศ์ เรณู พุกบุญมี พิศสมัย อรทัย Padhcha Chinthanawongsa Renu Pookboonmee Pisamai Orathai มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี แนวปฏิบัติการพยาบาล การบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูก ทารกเกิดก่อนกำหนด แรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก Clinical nursing practice guideline Nasal skin injury Premature infants Nasal continuous positive airway pressure การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลังการทดลองเพื่อศึกษาผลของการ ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกต่อการบาดเจ็บของผิวหนัง บริเวณจมูกในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูก กลุ่ม ตัวอย่างเป็นทารกเกิดก่อนกำหนดอายุ 1-28 วัน ที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกโดยใช้อุปกรณ์ นาซอล พรองส์ ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด โรงพยาบาลชลบุรี คัดเลือกตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดได้กลุ่มควบคุม 29 รายและกลุ่มทดลอง 30 ราย กลุ่มควบคุม ได้รับการพยาบาลตามปกติและกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกัน การบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูก ประกอบด้วยแนวปฏิบัติรวม 7 ด้าน ได้แก่ 1) การเลือกขนาดนาซอล พรองส์ 2) การใส่และการยึดตรึง 3) การดูแลขณะทารกใส่นาซอล พรองส์ 4) การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน 5) การดูดสารคัดหลั่งในรูจมูก 6) การปรับตั้งเครื่องให้ความชื้นและอุณหภูมิที่เหมาะสม และ 7) การ ดูแลเพื่อส่งเสริมความสุขสบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบบันทึกข้อมูลพื้นฐาน แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูก แบบบันทึกการพยาบาลตามแนว ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูก และแบบประเมินการบาดเจ็บของ ผิวหนังบริเวณจมูก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย สถิติไคสแควร์ สถิติที และสถิติแมน-วิทนีย์ ยู ผลการศึกษาพบว่า การบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกของกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของ ผิวหนังบริเวณจมูกสามารถลดการบาดเจ็บของผิวหนังบริเวณจมูกได้ ดังนั้นควรมีการส่งเสริมให้มีการนำ แนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของการพยาบาลทารกเกิดก่อนก ำหนดเพื่อพัฒนาคุณภาพ การดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างต่อเนื่องทางจมูกให้ดียิ่งขึ้น The present study was a quasi-experimental study with a non-randomized control group, posttest only design which aimed at investigating the effect of a clinical nursing practice guideline to prevent nasal skin injury of premature infants with nasal continuous positive airway pressure (NCPAP). The study sample consisted of premature infants aged one to 28 days who received NCPAP with nasal prongs and were admitted into the neonatal intensive care unit (NICU) at Chonburi Hospital. Twenty-nine subjects in the control group received routine nursing care, while 30 subjects in the experimental group received the clinical nursing practice guideline to prevent nasal skin injury which consisted of seven practice components: 1) selecting the size of nasal prongs, 2) insertion and fixation of nasal prongs, 3) care while on nasal prongs, 4) monitoring of complications, 5) suction of nasal secretions, 6) adjustment of appropriate humidity and temperature, and 7) care for physical comfort. The instruments used in this study composed of the personal data record form, the clinical nursing practice guideline to prevent nasal skin injury, the nursing record form based on the clinical nursing practice guideline to prevent nasal skin injury, and the nasal skin injury evaluation form. Data were analyzed using descriptive statistics, chi-square test, independent t-test, and Mann-Whitney U-test. The study findings showed that premature infants in the experimental group who received NCPAP had significantly less nasal skin injury than that of the premature infants in the control group. The study findings revealed that the clinical nursing practice guideline to prevent nasal skin injury could reduce nasal skin injuries. Therefore, the clinical nursing practice guidelines to prevent nasal skin injury should be integrated into care of premature infants so as to further enhance quality of nursing care provided to premature infants receiving NCPAP. 2019-10-24T03:22:21Z 2019-10-24T03:22:21Z 2562-10-24 2559 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 22, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2559), 35-48 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47950 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |