การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล ที่มีต่อผู้คลอด ประชากรตัวอย่างเป็นพยาบาลที่ปฏิบัติงานในแผนกห้องคลอดของโรงพยาบาลรัฐใน เขตกรุงเทพมหานคร 6 แห่งจำนวน 123 ราย พัฒนาข้อคำถามจากการทบทวนวรรณกรรม เอกสาร และตำรา ได้แบบวัดพฤติกรรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาลจไนวน 23 ข...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47961 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.47961 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.479612023-03-30T22:57:51Z การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล Development of the Labor Support Scale for Intrapartum Nurse ศรีสมร ภูมนสกุล ปุณณภาภัค สุขสงวน จันทิมา ขนบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี การสนับสนุนการคลอด การวิเคราะห์เพื่อยืนยันองค์ประกอบ ความตรงเชิงโครงสร้าง ความเที่ยงเชิงโครงสร้าง Labor support Confirmatory factor analysis Construct validity Construct reliability งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล ที่มีต่อผู้คลอด ประชากรตัวอย่างเป็นพยาบาลที่ปฏิบัติงานในแผนกห้องคลอดของโรงพยาบาลรัฐใน เขตกรุงเทพมหานคร 6 แห่งจำนวน 123 ราย พัฒนาข้อคำถามจากการทบทวนวรรณกรรม เอกสาร และตำรา ได้แบบวัดพฤติกรรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาลจไนวน 23 ข้อ ผ่านการตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิเหลือข้อคำถามจำนวน 22 ข้อ เก็บข้อมูลโดยให้กลุ่มตัวอย่าง ทำแบบสอบถามพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดด้วยตนเองวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายตรวจ สอบองค์ประกอบและค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค วิเคราะห์ความตรงและความเที่ยง เชิงโครงสร้างเพื่อยืนยันองค์ประกอบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษา พบว่า จาก การสกัดองค์ประกอบทำให้ได้ข้อคำถามจำนวน 20 ข้อ ที่สะท้อน 4 องค์ประกอบ คือ การสนับสนุน การคลอดทางด้านร่างกาย การสนับสนุนการคลอดทางด้านอารมณ์การสนับสนุนการคลอดทางด้าน การเป็นตัวแทนและการสนับสนุนการคลอดด้านข้อมูลข่าวสารและคำแนะนำโดยแต่ละองค์ประกอบ และทั้งฉบับมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคที่สะท้อนความสอดคล้องภายในสำหรับแบบวัดที่ สร้างขึ้นใหม่ อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้การตรวจสอบเพื่อยืนยันองค์ประกอบและความเที่ยงเชิง โครงสร้างด้วย Second Order Confirmatory Factor Analysis พบว่า โมเดลการวัดพฤติกรรมสนับสนุน การคลอดมีความตรงเชิงโครงสร้างโดยมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีค่าน้ำหนัก องค์ประกอบของพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดทุกพฤติกรรมมีนัยสำคัญทางสถิติพฤติกรรมการ สนับสนุนการคลอดที่มีน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุดคือ การให้ข้อมูลเกี่ยวกับแผนการรักษาของ แพทย์และแผนการพยาบาลรองลงมาคือการเป็นตัวแทนในการสอบถามหรือหาข้อมูลในสิ่งที่ผู้คลอด มีความสงสัยเกี่ยวกับการดูแลรักษา และความเที่ยงเชิงโครงสร้างขององค์ประกอบอยู่ในเกณฑ์ ปานกลางถึงสูง ซึ่งแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดนี้สามารถนำไปปรับใช้ประเมินการปฏิบัติ พฤติกรรมสนับสนุนการคลอดทั้งจากพยาบาลและตามการรับรู้ของสตรีในระยะคลอด ในการศึกษา ในประเด็นอื่นที่เกี่ยวข้อง The purposes of this research was to develop the Labor Support Scale for intrapartum nurse. The accessible population was 123 staff nurses who worked in the delivery room of six government hospitals at Bangkok Metropolitan area. Contents of the 23 item Labor Support Scale were validated by five experts and 22 items were remained. Data was collected with the self-report of Labor Support Scale. Data analysis was performed using descriptive statistics, Exploratory Factor Analysis, and Cronbach's alpha coefficients with a computer program. Construct validity and construct reliability were analyzed using Confirmatory Factor Analysis with the LISREL program. The result showed that 20 items reflected four factors: physical, emotional, advocacy, and information/advice support. Each dimension and total scale has acceptable Cronbach's alpha coefficient for internal consistency. The Second Order Confirmatory Factor analysis supported the construct validity of the measurement model of the Labor Support Scale and fit nicely to the empirical data. All factor loadings were statistically significant. The most important supporting behavior was informing medical treatment planning and nursing care plan followed by act as representative to ask and find out information regarding the doubted treatment plan. The construct reliability was in the medium to high level. This Labor Support Scale could be modified to assess nurse's labor support behavior practice and perceived labor support from nurses for the laboring women in further study. 2019-10-24T09:33:42Z 2019-10-24T09:33:42Z 2562-10-24 2559 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 22, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 247-262 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47961 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การสนับสนุนการคลอด การวิเคราะห์เพื่อยืนยันองค์ประกอบ ความตรงเชิงโครงสร้าง ความเที่ยงเชิงโครงสร้าง Labor support Confirmatory factor analysis Construct validity Construct reliability |
spellingShingle |
การสนับสนุนการคลอด การวิเคราะห์เพื่อยืนยันองค์ประกอบ ความตรงเชิงโครงสร้าง ความเที่ยงเชิงโครงสร้าง Labor support Confirmatory factor analysis Construct validity Construct reliability ศรีสมร ภูมนสกุล ปุณณภาภัค สุขสงวน จันทิมา ขนบดี การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล |
description |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล
ที่มีต่อผู้คลอด ประชากรตัวอย่างเป็นพยาบาลที่ปฏิบัติงานในแผนกห้องคลอดของโรงพยาบาลรัฐใน
เขตกรุงเทพมหานคร 6 แห่งจำนวน 123 ราย พัฒนาข้อคำถามจากการทบทวนวรรณกรรม เอกสาร
และตำรา ได้แบบวัดพฤติกรรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาลจไนวน 23 ข้อ ผ่านการตรวจสอบ
ความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิเหลือข้อคำถามจำนวน 22 ข้อ เก็บข้อมูลโดยให้กลุ่มตัวอย่าง
ทำแบบสอบถามพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดด้วยตนเองวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายตรวจ
สอบองค์ประกอบและค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค วิเคราะห์ความตรงและความเที่ยง
เชิงโครงสร้างเพื่อยืนยันองค์ประกอบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษา พบว่า จาก
การสกัดองค์ประกอบทำให้ได้ข้อคำถามจำนวน 20 ข้อ ที่สะท้อน 4 องค์ประกอบ คือ การสนับสนุน
การคลอดทางด้านร่างกาย การสนับสนุนการคลอดทางด้านอารมณ์การสนับสนุนการคลอดทางด้าน
การเป็นตัวแทนและการสนับสนุนการคลอดด้านข้อมูลข่าวสารและคำแนะนำโดยแต่ละองค์ประกอบ
และทั้งฉบับมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคที่สะท้อนความสอดคล้องภายในสำหรับแบบวัดที่
สร้างขึ้นใหม่ อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้การตรวจสอบเพื่อยืนยันองค์ประกอบและความเที่ยงเชิง
โครงสร้างด้วย Second Order Confirmatory Factor Analysis พบว่า โมเดลการวัดพฤติกรรมสนับสนุน
การคลอดมีความตรงเชิงโครงสร้างโดยมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีค่าน้ำหนัก
องค์ประกอบของพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดทุกพฤติกรรมมีนัยสำคัญทางสถิติพฤติกรรมการ
สนับสนุนการคลอดที่มีน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุดคือ การให้ข้อมูลเกี่ยวกับแผนการรักษาของ
แพทย์และแผนการพยาบาลรองลงมาคือการเป็นตัวแทนในการสอบถามหรือหาข้อมูลในสิ่งที่ผู้คลอด
มีความสงสัยเกี่ยวกับการดูแลรักษา และความเที่ยงเชิงโครงสร้างขององค์ประกอบอยู่ในเกณฑ์
ปานกลางถึงสูง ซึ่งแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดนี้สามารถนำไปปรับใช้ประเมินการปฏิบัติ
พฤติกรรมสนับสนุนการคลอดทั้งจากพยาบาลและตามการรับรู้ของสตรีในระยะคลอด ในการศึกษา
ในประเด็นอื่นที่เกี่ยวข้อง |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ศรีสมร ภูมนสกุล ปุณณภาภัค สุขสงวน จันทิมา ขนบดี |
format |
Article |
author |
ศรีสมร ภูมนสกุล ปุณณภาภัค สุขสงวน จันทิมา ขนบดี |
author_sort |
ศรีสมร ภูมนสกุล |
title |
การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล |
title_short |
การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล |
title_full |
การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล |
title_fullStr |
การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล |
title_sort |
การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมสนับสนุนการคลอดของพยาบาล |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47961 |
_version_ |
1763489798959398912 |