ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาความเครียด การเผชิญความเครียด และความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัดตามกรอบแนวคิดของลาซารัสและโฟล์คแมน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร, มุกดา เดชประพนธ์, บัวหลวง สำแดงฤทธิ์, Suppakarn Opasrattanakorn, Mukda Detprapon, Bualuang Sumdaengrit
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47973
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.47973
record_format dspace
spelling th-mahidol.479732023-03-30T15:02:54Z ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด Stress and Coping of Nasopharyngeal Carcinoma Patients Receiving Concurrent Chemoradiotherapy Treatment ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร มุกดา เดชประพนธ์ บัวหลวง สำแดงฤทธิ์ Suppakarn Opasrattanakorn Mukda Detprapon Bualuang Sumdaengrit มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ความเครียด การเผชิญความเครียด โรคมะเร็งหลังโพรงจมูก การฉายรังสีร่วมกับเคมีบำบัด Stress Coping Nasopharyngeal carcinoma Concurrent Chemoradiotherapy treatment การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาความเครียด การเผชิญความเครียด และความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัดตามกรอบแนวคิดของลาซารัสและโฟล์คแมน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วย การฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัดอย่างน้อย 3 เดือนแต่ไม่เกิน 1 ปีณ แผนกตรวจโรคผู้ป่วยนอก กลุ่มงานรังสีรักษา โรงพยาบาลระดับตติยภูมิจำนวน 51 ราย ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่าง เดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับ ความเครียดและการเผชิญความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย และสถิติสหสัมพันธ์ เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ระดับความเครียดของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับสูง กลุ่มตัวอย่างใช้วิธี การเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาด้านการจัดการกับอารมณ์และด้านการบรรเทา ความเครียดร่วมกันโดยมีสัดส่วนของการเผชิญหน้ากับปัญหามากที่สุด เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ ของตัวแปรพบว่า ระดับความเครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเผชิญความเครียดด้านการ จัดการกับอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติแต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเผชิญความเครียดโดย รวม การเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาและด้านการบรรเทาความเครียด ดังนั้น พยาบาลควรประเมินความเครียดผู้ป่วยเป็นระยะๆเมื่อผู้ป่วยมาติดตามผลการรักษาเพื่อที่จะได้ ช่วยเหลือให้คำแนะนำที่เหมาะสมตรงกับความต้องการของผู้ป่วย The purposes of this descriptive study were to explore stress, coping, and the relationship between stress and coping of nasopharyngeal carcinoma patients receiving concurrent treatment. Lazarus and Folkman's Stress and Coping Theory was applied as a framework. The study sample consisted of 51 patients who were diagnosed with nasopharyngeal carcinoma receiving concurrent treatment for at least 3 months, but not more than 1 year, at the Outpatient Department, Radiotherapy Division in a tertiary hospital. The data were collected from January to April, 2014. The study instruments included questionnaires and interview forms related to stress and coping. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson's Correlation. The study results revealed that the stress of the sample was at a high level. The sample employed three coping strategies, including problem-focused coping, emotional-focused coping, and palliative focused coping. The problem-focused coping was mostly used to deal with stress. Regarding the relationships among the study variables, there was a positive relationship between the stress level and emotional-focused coping at a statistically significant level. However, there was no relationship between the stress level and coping strategy, including problem-focused and palliative-focused coping. Nurses should assess patients' stress levels regularly at follow-up treatment in order to provide nursing services to patients as needed. 2019-10-28T04:09:55Z 2019-10-28T04:09:55Z 2562-10-28 2558 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2558), 158-171 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47973 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความเครียด
การเผชิญความเครียด
โรคมะเร็งหลังโพรงจมูก
การฉายรังสีร่วมกับเคมีบำบัด
Stress
Coping
Nasopharyngeal carcinoma
Concurrent Chemoradiotherapy treatment
spellingShingle ความเครียด
การเผชิญความเครียด
โรคมะเร็งหลังโพรงจมูก
การฉายรังสีร่วมกับเคมีบำบัด
Stress
Coping
Nasopharyngeal carcinoma
Concurrent Chemoradiotherapy treatment
ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร
มุกดา เดชประพนธ์
บัวหลวง สำแดงฤทธิ์
Suppakarn Opasrattanakorn
Mukda Detprapon
Bualuang Sumdaengrit
ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด
description การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาความเครียด การเผชิญความเครียด และความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัดตามกรอบแนวคิดของลาซารัสและโฟล์คแมน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วย การฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัดอย่างน้อย 3 เดือนแต่ไม่เกิน 1 ปีณ แผนกตรวจโรคผู้ป่วยนอก กลุ่มงานรังสีรักษา โรงพยาบาลระดับตติยภูมิจำนวน 51 ราย ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่าง เดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับ ความเครียดและการเผชิญความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย และสถิติสหสัมพันธ์ เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ระดับความเครียดของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับสูง กลุ่มตัวอย่างใช้วิธี การเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาด้านการจัดการกับอารมณ์และด้านการบรรเทา ความเครียดร่วมกันโดยมีสัดส่วนของการเผชิญหน้ากับปัญหามากที่สุด เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ ของตัวแปรพบว่า ระดับความเครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเผชิญความเครียดด้านการ จัดการกับอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติแต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเผชิญความเครียดโดย รวม การเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาและด้านการบรรเทาความเครียด ดังนั้น พยาบาลควรประเมินความเครียดผู้ป่วยเป็นระยะๆเมื่อผู้ป่วยมาติดตามผลการรักษาเพื่อที่จะได้ ช่วยเหลือให้คำแนะนำที่เหมาะสมตรงกับความต้องการของผู้ป่วย
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร
มุกดา เดชประพนธ์
บัวหลวง สำแดงฤทธิ์
Suppakarn Opasrattanakorn
Mukda Detprapon
Bualuang Sumdaengrit
format Article
author ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร
มุกดา เดชประพนธ์
บัวหลวง สำแดงฤทธิ์
Suppakarn Opasrattanakorn
Mukda Detprapon
Bualuang Sumdaengrit
author_sort ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร
title ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด
title_short ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด
title_full ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด
title_fullStr ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด
title_full_unstemmed ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด
title_sort ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47973
_version_ 1763489225431318528