พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุ ที่เป็นเบาหวานชนิดที่2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็มกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ ที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลือกแบบ เจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, พรทิพย์ มาลาธรรม, Neongreothai Jun-In, Apinya Siripitayakunkit, Porntip Malathum
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47975
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.47975
record_format dspace
spelling th-mahidol.479752023-03-31T10:47:40Z พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 Foot Care Behaviors of Older Persons with Type 2 Diabetes หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์ อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ พรทิพย์ มาลาธรรม Neongreothai Jun-In Apinya Siripitayakunkit Porntip Malathum มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี พฤติกรรมการดูแลเท้า การดูแลตนเอง ผู้สูงอายุ เบาหวานชนิดที่ 2 Foot care behaviors Self-care Older persons Type 2 diabetes การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุ ที่เป็นเบาหวานชนิดที่2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็มกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ ที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลือกแบบ เจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่าง 78 รายเป็นเพศชายและเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปีกลุ่มตัวอย่าง มีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือให้ความสำคัญกับการดูแล เท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเองเพื่อค้นหาความผิดปกติของเท้าเนื่องจากความกลัวการถูก ตัดนิ้ว/ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรง ไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีย นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้วนลงพุงทำให้ก้มลงดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มี ความคิดริเริ่มในการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอ ให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้จากข้อมูลเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่าง กระทำการดูแลตนเอง อย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรกการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัย ครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และ สามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้องกับพฤติกรรมและแบบแผนการดำเนินชีวิตตามบริบท ทางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น The aim of this study was to explore foot care behaviors of older persons with type 2 diabetes. Orem's self-care theory was used to guide the study. A sample of 78 older persons with type 2 diabetes was purposively selected from the Diabetic Center, Taksin Hospital, Bangkok. For data collection, semi-structured interviews were used, and all interviews were tape-recorded. Descriptive statistics and content analysis were used for data analysis. The sample consisted of male and female participants equally, with a mean age of 68.64 years. After being diagnosed with diabetes, the participants paid more attention to their foot care behaviors. Most of the participants had a foot examination done daily in order to identify skin breakdown because they were aware of foot ulcerations, which may result in lower extremity amputation. The participants performed foot ulcer prevention by applying lotion, clipping their nails straight, and not filing their nails. However, few participants soaked their feet in warm water. In addition, some participants had blurred vision and truncal obesity that made them unable to see their feet well. Nevertheless, they used everyday devices to help them examine their feet or asked for help from their family members. The results reflect that participants developed their abilities to perform foot care deliberately with various methods and integrated foot care behavior into their lifestyle. This study enables healthcare providers to understand foot care behavior and problems in foot care of older persons with type 2 diabetes. These results can be used to plan an appropriate foot care intervention that fits to individual contexts for better foot care. 2019-10-28T06:43:29Z 2019-10-28T06:43:29Z 2562-10-28 2558 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2558), 199-213 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47975 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic พฤติกรรมการดูแลเท้า
การดูแลตนเอง
ผู้สูงอายุ
เบาหวานชนิดที่ 2
Foot care behaviors
Self-care
Older persons
Type 2 diabetes
spellingShingle พฤติกรรมการดูแลเท้า
การดูแลตนเอง
ผู้สูงอายุ
เบาหวานชนิดที่ 2
Foot care behaviors
Self-care
Older persons
Type 2 diabetes
หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์
อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ
พรทิพย์ มาลาธรรม
Neongreothai Jun-In
Apinya Siripitayakunkit
Porntip Malathum
พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
description การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุ ที่เป็นเบาหวานชนิดที่2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็มกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ ที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลือกแบบ เจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่าง 78 รายเป็นเพศชายและเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปีกลุ่มตัวอย่าง มีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือให้ความสำคัญกับการดูแล เท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเองเพื่อค้นหาความผิดปกติของเท้าเนื่องจากความกลัวการถูก ตัดนิ้ว/ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรง ไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีย นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้วนลงพุงทำให้ก้มลงดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มี ความคิดริเริ่มในการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอ ให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้จากข้อมูลเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่าง กระทำการดูแลตนเอง อย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรกการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัย ครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และ สามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้องกับพฤติกรรมและแบบแผนการดำเนินชีวิตตามบริบท ทางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์
อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ
พรทิพย์ มาลาธรรม
Neongreothai Jun-In
Apinya Siripitayakunkit
Porntip Malathum
format Article
author หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์
อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ
พรทิพย์ มาลาธรรม
Neongreothai Jun-In
Apinya Siripitayakunkit
Porntip Malathum
author_sort หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์
title พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
title_short พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
title_full พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
title_fullStr พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
title_full_unstemmed พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
title_sort พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47975
_version_ 1764209879630741504