การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล

การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการ อ่านโดยเปรียบเทียบความแตกต่างของพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยกลุ่มที่เข้าร่วมและ กลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมและ กลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และศึกษาความคิดเห็นเกี...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุมาลา สว่างจิต, ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, นิชรา เรืองดารกานนท์, Sumala Sawangjit, Chuanruedee Kongsaktrakul, Nichara Ruangdaraganon
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47976
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.47976
record_format dspace
spelling th-mahidol.479762023-03-30T16:44:08Z การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล Evaluation of Read to Live Program on Language Development during Early Childhood Period and Caregiver Reading– Related Behaviors สุมาลา สว่างจิต ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล นิชรา เรืองดารกานนท์ Sumala Sawangjit Chuanruedee Kongsaktrakul Nichara Ruangdaraganon มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี โครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่าน พัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน ผู้ดูแล Read to Live Program, Language development during early childhood period, Reading-related behaviors, Caregiver การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการ อ่านโดยเปรียบเทียบความแตกต่างของพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยกลุ่มที่เข้าร่วมและ กลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมและ กลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของโครงการในกลุ่ม ผู้ดูแลเด็กที่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กอายุ1 ปี6 เดือน ถึง 2 ปีจำนวน 64 ราย และ ผู้ดูแลของเด็กจำนวน 64 รายที่มารับบริการที่หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกกุมารเวชศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดีเป็นกลุ่มทดลอง 32คู่กลุ่มควบคุม32คู่ผลการศึกษาพบว่าเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการ มีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการด้านภาษาสูงกว่าเด็กกลุ่มไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านสูงกว่าผู้ดูแล กลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีความคิด เห็นว่าเนื้อหาของโครงการ หนังสือที่แจกในโครงการ กิจกรรม ระยะเวลาในการทำกิจกรรม มีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สุด และโครงการนี้ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านหนังสือ ให้เด็กฟังเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนคำแนะนำที่ ได้รับจากโครงการมีความเข้าใจง่ายในระดับปานกลางถึงมาก และมีความพึงพอใจโครงการใน ภาพรวมในระดับมากถึงมากที่สุด ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้มีโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการ อ่านในโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพอื่น This study was a program evaluation which compared differences of language development during early childhood between a group attending and another group not attending the Read to Live Program, as well as caregiver reading-related behaviors of a group attending and another group not attending the Read to Live Program. Also, viewpoints on the appropriateness of the program among caregivers who attended the program were explored. The samples consisted of 64 children in the age range of 1 year and 6 months to 2 years, and 64 caregivers of children who obtained services at the outpatient children clinic, Ramathibodi Hospital. There were 32 pairs in the control group and 32 pairs in the experimental group. The findings of the study revealed that children who attended the program earned significantly higher mean scores of language development than those not attending the program. Caregivers of the attending group earned significantly higher mean scores of reading-related behaviors than those of the non-attending group. The caregivers viewed that the content of the program, books for distribution in the program, activities, and period of activities were highly appropriate. In addition, this program highly enhanced the knowledge of reading for children and enabled them to use that knowledge in practical application. The advice received from the program was moderately-to-highly easy to understand, and the overall satisfaction with the program was high. Therefore, the Read to Live Program should be administrated in hospitals or other health care institutions. 2019-10-28T07:16:14Z 2019-10-28T07:16:14Z 2562-10-28 2558 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2558), 229-243 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47976 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic โครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่าน
พัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน
ผู้ดูแล
Read to Live Program,
Language development during early childhood period, Reading-related behaviors, Caregiver
spellingShingle โครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่าน
พัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน
ผู้ดูแล
Read to Live Program,
Language development during early childhood period, Reading-related behaviors, Caregiver
สุมาลา สว่างจิต
ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล
นิชรา เรืองดารกานนท์
Sumala Sawangjit
Chuanruedee Kongsaktrakul
Nichara Ruangdaraganon
การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล
description การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการ อ่านโดยเปรียบเทียบความแตกต่างของพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยกลุ่มที่เข้าร่วมและ กลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมและ กลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของโครงการในกลุ่ม ผู้ดูแลเด็กที่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กอายุ1 ปี6 เดือน ถึง 2 ปีจำนวน 64 ราย และ ผู้ดูแลของเด็กจำนวน 64 รายที่มารับบริการที่หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกกุมารเวชศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดีเป็นกลุ่มทดลอง 32คู่กลุ่มควบคุม32คู่ผลการศึกษาพบว่าเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการ มีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการด้านภาษาสูงกว่าเด็กกลุ่มไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านสูงกว่าผู้ดูแล กลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีความคิด เห็นว่าเนื้อหาของโครงการ หนังสือที่แจกในโครงการ กิจกรรม ระยะเวลาในการทำกิจกรรม มีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สุด และโครงการนี้ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านหนังสือ ให้เด็กฟังเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนคำแนะนำที่ ได้รับจากโครงการมีความเข้าใจง่ายในระดับปานกลางถึงมาก และมีความพึงพอใจโครงการใน ภาพรวมในระดับมากถึงมากที่สุด ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้มีโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการ อ่านในโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพอื่น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
สุมาลา สว่างจิต
ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล
นิชรา เรืองดารกานนท์
Sumala Sawangjit
Chuanruedee Kongsaktrakul
Nichara Ruangdaraganon
format Article
author สุมาลา สว่างจิต
ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล
นิชรา เรืองดารกานนท์
Sumala Sawangjit
Chuanruedee Kongsaktrakul
Nichara Ruangdaraganon
author_sort สุมาลา สว่างจิต
title การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล
title_short การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล
title_full การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล
title_fullStr การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล
title_full_unstemmed การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล
title_sort การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47976
_version_ 1763490975086280704