ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการ รับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายใน ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยใช้กรอบแนวคิดการสนับสนุนการจัดการตนเองของ วากเนอร์และคณะ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรังเข้ารั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ละเอียด จารุสมบัติ, พิทักษ์ ไชยกูล, เวทิส ประทุมศรี, Doungrut Wattanakitkrileart, Laaid Jarusombat, Phitak Chaiyakul, Vetis Pratumsri
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47982
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.47982
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic โปรแกรมการจัดการตนเอง
การควบคุมอาการหายใจลำบาก
การรับรู้สมรรถนะของตนเอง
ความทนทานในการออกกำลังกาย
ผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง
Chronic obstructive pulmonary disease
Self-management program
Perceived self-efficacy
Dyspnea
Exercise tolerance
spellingShingle โปรแกรมการจัดการตนเอง
การควบคุมอาการหายใจลำบาก
การรับรู้สมรรถนะของตนเอง
ความทนทานในการออกกำลังกาย
ผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง
Chronic obstructive pulmonary disease
Self-management program
Perceived self-efficacy
Dyspnea
Exercise tolerance
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
ละเอียด จารุสมบัติ
พิทักษ์ ไชยกูล
เวทิส ประทุมศรี
Doungrut Wattanakitkrileart
Laaid Jarusombat
Phitak Chaiyakul
Vetis Pratumsri
ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
description การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการ รับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายใน ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยใช้กรอบแนวคิดการสนับสนุนการจัดการตนเองของ วากเนอร์และคณะ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรังเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลระดับทุติย ภูมิแห่งหนึ่งด้วยอาการหายใจลำบาก จำนวน 70 รายแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 35 รายและกลุ่มทดลอง 35 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเอง 8 สัปดาห์ประกอบด้วย การให้ความรู้และฝึกทักษะพื้นฐานในการจัดการตนเอง และการสนับสนุนให้ผู้ป่วยได้ปฏิบัติกิจกรรมการ จัดการตนเองโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางร่วมกับการสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมและติดตามเยี่ยม ประเมินผลในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการ รับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และประเมินความทนทานในการออกกำลัง กายโดยการทดสอบระยะทางที่เดินได้ใน 6 นาทีวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความ แปรปรวนแบบวัดซ้ำ 1 ปัจจัย ร่วมกับการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 99.30 เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 68.64 ปี (SD = 8.99) กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีอายุเฉลี่ย ไม่แตกต่างกันภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจ ลำบากแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและกลุ่มทดลองมีความทนทานในการ ออกกำลังกายไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า การจัดการตนเองในผู้ป่วย ปอดอุดกั้นเรื้อรังจะประสบผลสำเร็จได้ผู้ป่วยจะต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนจัดกิจกรรม โดยครอบครัว เป็นผู้สนับสนุน พยาบาลเป็นผู้ส่งเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติกิจกรรม และเป็นหุ้นส่วนในการจัดการ ตนเองของผู้ป่วย
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
ละเอียด จารุสมบัติ
พิทักษ์ ไชยกูล
เวทิส ประทุมศรี
Doungrut Wattanakitkrileart
Laaid Jarusombat
Phitak Chaiyakul
Vetis Pratumsri
format Article
author ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
ละเอียด จารุสมบัติ
พิทักษ์ ไชยกูล
เวทิส ประทุมศรี
Doungrut Wattanakitkrileart
Laaid Jarusombat
Phitak Chaiyakul
Vetis Pratumsri
author_sort ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
title ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_short ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_full ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_fullStr ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_full_unstemmed ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_sort ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47982
_version_ 1763487866374062080
spelling th-mahidol.479822023-03-31T06:40:41Z ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง Effects of a Self-Management Program on Perceived Self-efficacy to Control Dyspnea and Exercise Tolerance in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ ละเอียด จารุสมบัติ พิทักษ์ ไชยกูล เวทิส ประทุมศรี Doungrut Wattanakitkrileart Laaid Jarusombat Phitak Chaiyakul Vetis Pratumsri มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ โปรแกรมการจัดการตนเอง การควบคุมอาการหายใจลำบาก การรับรู้สมรรถนะของตนเอง ความทนทานในการออกกำลังกาย ผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง Chronic obstructive pulmonary disease Self-management program Perceived self-efficacy Dyspnea Exercise tolerance การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการ รับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายใน ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยใช้กรอบแนวคิดการสนับสนุนการจัดการตนเองของ วากเนอร์และคณะ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรังเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลระดับทุติย ภูมิแห่งหนึ่งด้วยอาการหายใจลำบาก จำนวน 70 รายแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 35 รายและกลุ่มทดลอง 35 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเอง 8 สัปดาห์ประกอบด้วย การให้ความรู้และฝึกทักษะพื้นฐานในการจัดการตนเอง และการสนับสนุนให้ผู้ป่วยได้ปฏิบัติกิจกรรมการ จัดการตนเองโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางร่วมกับการสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมและติดตามเยี่ยม ประเมินผลในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการ รับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และประเมินความทนทานในการออกกำลัง กายโดยการทดสอบระยะทางที่เดินได้ใน 6 นาทีวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความ แปรปรวนแบบวัดซ้ำ 1 ปัจจัย ร่วมกับการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 99.30 เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 68.64 ปี (SD = 8.99) กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีอายุเฉลี่ย ไม่แตกต่างกันภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจ ลำบากแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและกลุ่มทดลองมีความทนทานในการ ออกกำลังกายไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า การจัดการตนเองในผู้ป่วย ปอดอุดกั้นเรื้อรังจะประสบผลสำเร็จได้ผู้ป่วยจะต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนจัดกิจกรรม โดยครอบครัว เป็นผู้สนับสนุน พยาบาลเป็นผู้ส่งเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติกิจกรรม และเป็นหุ้นส่วนในการจัดการ ตนเองของผู้ป่วย This quasi-experiment aimed to examine effects of a self-management program on perceived self-efficacy to control dyspnea, and exercise tolerance by using Wagner’s self management program as the conceptual framework. Seventy patients who were diagnosed with chronic obstructive pulmonary disease and admitted to a secondary hospital with dyspnea were divided into the experimental and control group with 35 patients each. The experimental group received a self-management program, which comprised self-management education and skill training with patient-centered, family support, home visits, and follow ups. The program was carried out for 8 weeks and evaluated at Week 4 and Week 8. Data were collected through the Personal Data Questionnaire, the Perceived Self-Efficacy to Control Dyspnea Questionnaire, and exercise tolerance was determined by the Six-Minute Walk Test. Data were analyzed using descriptive statistics, one-factor repeated measures ANOVA and compared mean between groups. Results revealed that almost all (99.30%) of the sample were men and the mean age was 68.64 years. There were no differences in age between the experimental and control groups. There was a significant difference in perceived self-efficacy to control dyspnea between the experimental group and the control group, but exercise tolerance was not significantly different. The study findings suggest that the self-management program should have patients’ involvement in self-management planning with supporting care by family. Nurses should promote self-efficacy and work as a partnership in self-management. 2019-10-30T03:39:16Z 2019-10-30T03:39:16Z 2562-10-30 2558 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 21, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2558), 352-367 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47982 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf