ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด

วัตถุประสงค์: พื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะซึมเศร้า ความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด การสูบบุหรี่และโรคร่วมต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานายวิธีดําเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหืดอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ได้รับการรักษาด้วยยาคอร์ติ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สายสุนี อภิบาลวนา, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย, Saisunee Arpibanwana, Doungrut Wattanakitkrileart, Kanaungnit Pongthavornkamol, Wanchai Dejsomritrutai
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48023
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48023
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การควบคุมโรคหืด
โรคร่วม
ภาวะซึมเศร้า
ความร่วมมือในการใช้ยา
การสูบบุหรี่
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
asthma control
comorbidity
medications adherence
smoking
spellingShingle การควบคุมโรคหืด
โรคร่วม
ภาวะซึมเศร้า
ความร่วมมือในการใช้ยา
การสูบบุหรี่
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
asthma control
comorbidity
medications adherence
smoking
สายสุนี อภิบาลวนา
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย
Saisunee Arpibanwana
Doungrut Wattanakitkrileart
Kanaungnit Pongthavornkamol
Wanchai Dejsomritrutai
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด
description วัตถุประสงค์: พื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะซึมเศร้า ความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด การสูบบุหรี่และโรคร่วมต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานายวิธีดําเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหืดอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ได้รับการรักษาด้วยยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดอย่างน้อย 3 เดือนที่มาตรวจรักษาตามนัดในคลินิกโรคหืด โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครคัดเลือกแบบสะดวกตามเกณฑ์กําหนด จํานวน 130 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินระดับการควบคุมโรคหืดตามเกณฑ์ GINA แบบสอบถามภาวะซึมเศร้า (CESD) แบบสอบถามความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด (MARS) และแบบประเมินโรคร่วม Charlson Comorbidity Index วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณาและสถิติการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติคแบบเลือกเข้าทั้งหมด ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง 2 ใน 3 เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 66.6) อายุเฉลี่ย 63 ปี (SD = 12.7) ควบคุมโรคไม่ได้ร้อยละ 54.6 มีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 13.8 มีความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดร้อยละ 54.6 มีประวัติสูบบุหรี่ร้อยละ 25.4 และมีโรคร่วมร้อยละ 93.8 โดยเกือบครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 47.7) มีความรุนแรงโรคร่วมน้อย ภาวะซึมเศร้า ความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด การสูบบุหรี่ และโรคร่วม สามารถร่วมกันทํานายการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืดได้ร้อยละ 21.4 (Nagelkerke R2 = .214) โดยการไม่มีภาวะซึมเศร้า และความร่วมมือในการใช้ยา คอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดสามารถทํานายการควบคุมโรคอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (OR = 19.13, 95%CI = 2.37,154.64 และ OR = 2.21, 95%CI = 1.03, 4.78 ตามลําาดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: ภาวะซึมเศร้า และความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดมีผลต่อการควบคุม โรคในผู้ป่วยโรคหืด และเป็นปัจจัยที่สามารถจัดการได้ พยาบาลและทีมสุขภาพควรให้ความสําคัญกับการประเมินภาวะซึมเศร้า และความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด เพื่อเป็นแนวทางป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้า รวมทั้งให้การดูแลที่เหมาะสมและพัฒนารูปแบบการพยาบาลส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด นําไปสู่การควบคุมโรคได้ดียิ่งขึ้นในผู้ป่วยโรคหืด
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
สายสุนี อภิบาลวนา
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย
Saisunee Arpibanwana
Doungrut Wattanakitkrileart
Kanaungnit Pongthavornkamol
Wanchai Dejsomritrutai
format Article
author สายสุนี อภิบาลวนา
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย
Saisunee Arpibanwana
Doungrut Wattanakitkrileart
Kanaungnit Pongthavornkamol
Wanchai Dejsomritrutai
author_sort สายสุนี อภิบาลวนา
title ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด
title_short ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด
title_full ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด
title_fullStr ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด
title_sort ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48023
_version_ 1764209860370497536
spelling th-mahidol.480232023-03-31T10:48:49Z ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด Factors Influencing Disease Control in Patients with Asthma สายสุนี อภิบาลวนา ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย Saisunee Arpibanwana Doungrut Wattanakitkrileart Kanaungnit Pongthavornkamol Wanchai Dejsomritrutai มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาอายุรศาสตร์ การควบคุมโรคหืด โรคร่วม ภาวะซึมเศร้า ความร่วมมือในการใช้ยา การสูบบุหรี่ วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science asthma control comorbidity medications adherence smoking วัตถุประสงค์: พื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะซึมเศร้า ความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด การสูบบุหรี่และโรคร่วมต่อการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานายวิธีดําเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหืดอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ได้รับการรักษาด้วยยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดอย่างน้อย 3 เดือนที่มาตรวจรักษาตามนัดในคลินิกโรคหืด โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครคัดเลือกแบบสะดวกตามเกณฑ์กําหนด จํานวน 130 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินระดับการควบคุมโรคหืดตามเกณฑ์ GINA แบบสอบถามภาวะซึมเศร้า (CESD) แบบสอบถามความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด (MARS) และแบบประเมินโรคร่วม Charlson Comorbidity Index วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณาและสถิติการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติคแบบเลือกเข้าทั้งหมด ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง 2 ใน 3 เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 66.6) อายุเฉลี่ย 63 ปี (SD = 12.7) ควบคุมโรคไม่ได้ร้อยละ 54.6 มีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 13.8 มีความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดร้อยละ 54.6 มีประวัติสูบบุหรี่ร้อยละ 25.4 และมีโรคร่วมร้อยละ 93.8 โดยเกือบครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 47.7) มีความรุนแรงโรคร่วมน้อย ภาวะซึมเศร้า ความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด การสูบบุหรี่ และโรคร่วม สามารถร่วมกันทํานายการควบคุมโรคในผู้ป่วยโรคหืดได้ร้อยละ 21.4 (Nagelkerke R2 = .214) โดยการไม่มีภาวะซึมเศร้า และความร่วมมือในการใช้ยา คอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดสามารถทํานายการควบคุมโรคอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (OR = 19.13, 95%CI = 2.37,154.64 และ OR = 2.21, 95%CI = 1.03, 4.78 ตามลําาดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: ภาวะซึมเศร้า และความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดมีผลต่อการควบคุม โรคในผู้ป่วยโรคหืด และเป็นปัจจัยที่สามารถจัดการได้ พยาบาลและทีมสุขภาพควรให้ความสําคัญกับการประเมินภาวะซึมเศร้า และความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด เพื่อเป็นแนวทางป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้า รวมทั้งให้การดูแลที่เหมาะสมและพัฒนารูปแบบการพยาบาลส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด นําไปสู่การควบคุมโรคได้ดียิ่งขึ้นในผู้ป่วยโรคหืด Purpose: This research aimed to study the influences of depression, adherence to inhaled corticosteroids, smoking and comorbidity on disease control in patients with asthma.Design: Correlational predictive research.Methods: The subjects comprised 130 patients aged 18 years and older with asthma who received inhaled corticosteroids at least 3 months and came for follow-up visits at the Asthma Clinic of one tertiary hospital in Bangkok, Thailand. The subjects were recruited by conveniene sampling. Data were collected by questionnaires on demography, the Level of Asthma Control according to Global Initiative for Asthma (GINA) criteria, the Center for Epidemiological Studies Depression Scale, the Medication Adherence Report Scale and the Charlson Comorbidity Index. Data were analyzed using descriptive statistics and enter method logistic regression analysis.Main findings: Two-thirds of the subjects were females (66.6%) with a mean age of 63 years (SD = 12.7). More than half (54.6%) had uncontrolled asthma. Fourteen percent had developed depression. The subjects (54.6%) had adherence to inhaled corticosteroids. One-fourths (25.4%) were smokers. Most of the subjects (93.8%) had comorbidities and almost half (47.7%) had a low level of comorbidities. Depression, adherence to inhaled corticosteroids, smoking, and comorbidity were able to predict disease control in patients with asthma at 21.4 percent (Nagelkerke R2 = .214). Depression and adherence to inhaled corticosteroids were able to predict with statistical significance (OR = 19.13, 95%CI = 2.37, 154.64 and OR = 2.21, 95%CI = 1.03, 4.78, respectively).Conclusion and recommendations: Depression and adherence to inhaled corticosteroids were manageable factors could affect with asthma control. Nurses and healthcare teams should pay attention to assessing depression and adherence to inhaled corticosteroids in order to prevent or manage depression and development of a nursing care program for increasing adherence to inhaled corticosteroids, which can lead to improved disease control in patients with asthma. โครงการวิจัยได้รับทุนจากเงินกองทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2019-11-19T07:41:12Z 2019-11-19T07:41:12Z 2562-11-19 2561 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2561), 39-51 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48023 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf