ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ และอํานาจทํานายของการรบกวนจากอาการ ระยะของโรคความกลัวการกลับเป็นมะเร็งซ้ำและความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง ต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี รูปแบบการวิจัย: การวิจัยความสัมพัน...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อภันตรี จันทะไทย, คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, นพดล โสภารัตนาไพศาล, Aphantree Janthathai, Kanaungnit Pongthavornkamol, Doungrut Wattanakitkrileart, Nopadol Soparattanapaisarn
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48024
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48024
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic มะเร็งลําาไส้ใหญ่และทวารหนัก
คุณภาพชีวิต
ผู้รอดชีวิต
อาการ
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
quality of life
colorectal cancer
survivors
symptom
spellingShingle มะเร็งลําาไส้ใหญ่และทวารหนัก
คุณภาพชีวิต
ผู้รอดชีวิต
อาการ
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
quality of life
colorectal cancer
survivors
symptom
อภันตรี จันทะไทย
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
นพดล โสภารัตนาไพศาล
Aphantree Janthathai
Kanaungnit Pongthavornkamol
Doungrut Wattanakitkrileart
Nopadol Soparattanapaisarn
ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ และอํานาจทํานายของการรบกวนจากอาการ ระยะของโรคความกลัวการกลับเป็นมะเร็งซ้ำและความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง ต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี รูปแบบการวิจัย: การวิจัยความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กําหนดจํานวน 108 ราย ที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ชุดแบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล การรบกวนจากอาการ ความกลัวการกลับเป็นมะเร็งซ้ำ ความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนองและคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน ผลการวิจัย: คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี อยู่ในระดับค่อนข้างสูง (X = 109.14, SD = 10.32) ปัจจัยที่ศึกษา 4 ตัวร่วมกันทํานายคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ20.4 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(4, 103) = 6.586, p < .01) โดยการรบกวนจากอาการเป็นปัจจัยที่สามารถทํานายคุณภาพชีวิตดีที่สุด (β = -.295, p < .01) รองลงมาคือ ความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (β = -.261,p < .01) ส่วนระยะของโรคและความกลัวการกลับเป็นมะเร็งซ้ำไม่สามารถทําานายคุณภาพชีวิตได้สรุปและข้อเสนอแนะ:การรบกวนจากอาการและความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนองเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีคุณภาพชีวิตลดลงของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษาพยาบาลควรตระหนักให้ความสําคัญต่อการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ โดยเน้นการจัดการการรบกวนจากอาการและวางแผนการดูแลแก้ไขปัญหาความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
อภันตรี จันทะไทย
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
นพดล โสภารัตนาไพศาล
Aphantree Janthathai
Kanaungnit Pongthavornkamol
Doungrut Wattanakitkrileart
Nopadol Soparattanapaisarn
format Article
author อภันตรี จันทะไทย
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
นพดล โสภารัตนาไพศาล
Aphantree Janthathai
Kanaungnit Pongthavornkamol
Doungrut Wattanakitkrileart
Nopadol Soparattanapaisarn
author_sort อภันตรี จันทะไทย
title ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี
title_short ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี
title_full ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี
title_fullStr ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี
title_full_unstemmed ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี
title_sort ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48024
_version_ 1763492357159780352
spelling th-mahidol.480242023-03-30T19:04:37Z ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี Factors Predicting Health–Related Quality of Life among Colorectal Cancer Survivors during 6 Months to 5 Years after Treatment Completion อภันตรี จันทะไทย คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ นพดล โสภารัตนาไพศาล Aphantree Janthathai Kanaungnit Pongthavornkamol Doungrut Wattanakitkrileart Nopadol Soparattanapaisarn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาอายุรศาสตร์ มะเร็งลําาไส้ใหญ่และทวารหนัก คุณภาพชีวิต ผู้รอดชีวิต อาการ วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science quality of life colorectal cancer survivors symptom วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ และอํานาจทํานายของการรบกวนจากอาการ ระยะของโรคความกลัวการกลับเป็นมะเร็งซ้ำและความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง ต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี รูปแบบการวิจัย: การวิจัยความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กําหนดจํานวน 108 ราย ที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ชุดแบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล การรบกวนจากอาการ ความกลัวการกลับเป็นมะเร็งซ้ำ ความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนองและคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน ผลการวิจัย: คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนถึง 5 ปี อยู่ในระดับค่อนข้างสูง (X = 109.14, SD = 10.32) ปัจจัยที่ศึกษา 4 ตัวร่วมกันทํานายคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ20.4 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(4, 103) = 6.586, p < .01) โดยการรบกวนจากอาการเป็นปัจจัยที่สามารถทํานายคุณภาพชีวิตดีที่สุด (β = -.295, p < .01) รองลงมาคือ ความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (β = -.261,p < .01) ส่วนระยะของโรคและความกลัวการกลับเป็นมะเร็งซ้ำไม่สามารถทําานายคุณภาพชีวิตได้สรุปและข้อเสนอแนะ:การรบกวนจากอาการและความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนองเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีคุณภาพชีวิตลดลงของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักหลังสิ้นสุดการรักษาพยาบาลควรตระหนักให้ความสําคัญต่อการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ โดยเน้นการจัดการการรบกวนจากอาการและวางแผนการดูแลแก้ไขปัญหาความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง Purpose: To investigate health–related quality of life and the predictive power of symptom distress, stage of cancer, fear of cancer recurrence, and unmet supportive care needs on health– related quality of life in colorectal cancer survivors during 6 months to 5 years after treatment completion.Design: Correlational predictive research.Methods: The sample included 108 colorectal cancer survivors meeting the inclusion criteria who came for post-treatment follow up service at one tertiary, university hospital in Bangkok. Questionnaires consisted of demographic data, symptom distress, fear of cancer recurrence, unmet needs, and health-related quality of life. Data were analyzed by descriptive statistics, and predictive power was tested by enter multiple regression analysis. Mains finding: The findings revealed that colorectal cancer survivors had a quite high health-related quality of life (X = 109.14, SD = 10.32). Together four predicting study variables explained 20.4% of the variance in health – related quality of life in colorectal cancer survivors with statistical significance (R2 = .204, F(4, 103) = 6.586, p < .01). Symptom distress was the factor that best predicted health – related quality of life (β = -.295, p < .01), followed by unmet needs (β = -.261, p < .01). Stage of cancer and fear of cancer recurrence were not able to explain health – related quality of life.Conclusion and recommendations: Symptom distress and unmet needs have been found as significant predictors of health-related quality of life in colorectal cancer survivors after completion of primary treatment, Nurses should be aware of cancer survivorship care by focusing on managing distressing symptoms and developing individualized cancer survivorship care plan that resolves unmet needs. 2019-11-19T08:05:04Z 2019-11-19T08:05:04Z 2562-11-19 2561 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2561), 52-65 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48024 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf