ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: ศึกษากลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน 60 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่ม...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วิไล แสนยาเจริญกุล, กีรดา ไกรนุวัตร, ปิยะธิดา นาคะเกษียร, Wilai Saenyacharoenkul, Kerada Krainuwat, Piyatida Nakagasien
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48029
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48029
record_format dspace
spelling th-mahidol.480292023-03-31T08:59:55Z ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน Effects of a Dietary Modification Program on Food Consumption Behavior for People with Prediabetes วิไล แสนยาเจริญกุล กีรดา ไกรนุวัตร ปิยะธิดา นาคะเกษียร Wilai Saenyacharoenkul Kerada Krainuwat Piyatida Nakagasien มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสต การปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการบริโภคอาหาร กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตน dietary modification food consumption behavior health belief model prediabetes self-efficacy วารสารพยาบาลศาสตร์ Nursing Science Journal of Thailand Journal of Nursing Science วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: ศึกษากลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน 60 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามปกติร่วมกับโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหาร กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติเท่านั้น เครื่องมือที่ใช้ คือ โปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารระยะเวลา 8 สัปดาห์ มีกิจกรรมกลุ่ม 4 ครั้ง และติดตามทางโทรศัพท์ 1 ครั้ง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามก่อนทดลอง หลังทดลอง (สัปดาห์ที่ 4) และระยะติดตามผล (สัปดาห์ที่ 8) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัย: พฤติกรรมการบริโภคอาหาร แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F(1, 58) = 38.096, p < .001, F(1, 58) = 26.374, p < .001 และ F(1, 58) = 26.555, p < .001) สรุปและข้อเสนอแนะ: โปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารนี้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานได้ และยังทำให้มีความมั่นใจในการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับภาวะเสี่ยงสูงต่อเบาหวานของตนเอง รวมทั้งมีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพดีกว่ากลุ่มควบคุม ดังนั้นพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนสามารถนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน เพื่อป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเบาหวานในอนาคต Purpose: This study aimed to assess the effects of a dietary modification program on a food consumption behavior. Design: An experimental design. Methods: 60 people with prediabetes were participated in this study. Participants were randomly assigned into experimental and control groups with 30 each. Participants in the experimental group received usual care plus the dietary modification program whereas those in the control group received only usual care. The 8-week dietary behavior modification program consisted of 4 sessions of group activities and a follow-up telephone call. Data collection was performed using questionnaires at based line, after intervention (week 4), and follow-up period (week 8). Descriptive statistics and repeated measure one-way ANOVA were used for data analysis. Main findings: The study findings revealed that food consumption behavior, health belief and perceived self-efficacy of the experimental group significantly differed from the control group (F(1,58) = 38.096, p < .001, F(1, 58) = 26.374, p < .001 and F(1, 58) = 26.555, p < .001). Conclusion and recommendations: The dietary modification program could modify food consumption behavior among people with prediabetes. Participants in the experimental group were more confident to choose proper food according to their prediabetic stage and had better health beliefs than those of the control group. Thus, community health nurse practitioners should apply this program in promoting dietary change for people with prediabetes in order to prevent or delay the onset of diabetes mellitus in the future. ได้รับทุนอุดหนุนบางส่วนจากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2019-11-19T09:33:49Z 2019-11-19T09:33:49Z 2562-11-19 2562 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 37, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มี.ค. 2562), 59-72 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48029 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหาร
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน
dietary modification
food consumption behavior
health belief model
prediabetes
self-efficacy
วารสารพยาบาลศาสตร์
Nursing Science Journal of Thailand
Journal of Nursing Science
spellingShingle การปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหาร
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน
dietary modification
food consumption behavior
health belief model
prediabetes
self-efficacy
วารสารพยาบาลศาสตร์
Nursing Science Journal of Thailand
Journal of Nursing Science
วิไล แสนยาเจริญกุล
กีรดา ไกรนุวัตร
ปิยะธิดา นาคะเกษียร
Wilai Saenyacharoenkul
Kerada Krainuwat
Piyatida Nakagasien
ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: ศึกษากลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน 60 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามปกติร่วมกับโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหาร กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติเท่านั้น เครื่องมือที่ใช้ คือ โปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารระยะเวลา 8 สัปดาห์ มีกิจกรรมกลุ่ม 4 ครั้ง และติดตามทางโทรศัพท์ 1 ครั้ง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามก่อนทดลอง หลังทดลอง (สัปดาห์ที่ 4) และระยะติดตามผล (สัปดาห์ที่ 8) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัย: พฤติกรรมการบริโภคอาหาร แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F(1, 58) = 38.096, p < .001, F(1, 58) = 26.374, p < .001 และ F(1, 58) = 26.555, p < .001) สรุปและข้อเสนอแนะ: โปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารนี้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานได้ และยังทำให้มีความมั่นใจในการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับภาวะเสี่ยงสูงต่อเบาหวานของตนเอง รวมทั้งมีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพดีกว่ากลุ่มควบคุม ดังนั้นพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนสามารถนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน เพื่อป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเบาหวานในอนาคต
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
วิไล แสนยาเจริญกุล
กีรดา ไกรนุวัตร
ปิยะธิดา นาคะเกษียร
Wilai Saenyacharoenkul
Kerada Krainuwat
Piyatida Nakagasien
format Article
author วิไล แสนยาเจริญกุล
กีรดา ไกรนุวัตร
ปิยะธิดา นาคะเกษียร
Wilai Saenyacharoenkul
Kerada Krainuwat
Piyatida Nakagasien
author_sort วิไล แสนยาเจริญกุล
title ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
title_short ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
title_full ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
title_fullStr ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
title_sort ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48029
_version_ 1763491759005892608