ความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ในการประเมินและการจัดการ ผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ในการประเมิน และการจัดการผ้ปู ่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพ กล่มุ ตัวอย่างเป็น พยาบาลวิชาชีพแผนกอายุรกรรม และศัลยกรรมโรงพย...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48298 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.48298 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ภาวะช็อคจากการติดเชื้อ ความรู้ การประเมินและการจัดการ พยาบาลวิชาชีพ Septic shock Knowledge Detection and management Registered nurses |
spellingShingle |
ภาวะช็อคจากการติดเชื้อ ความรู้ การประเมินและการจัดการ พยาบาลวิชาชีพ Septic shock Knowledge Detection and management Registered nurses อรอุมา ท้วมกลัด พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพัน อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ Onuma Thuamklad Poolsuk Janepanish Visudtibhan Apinya Siripitayakunkit ความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย |
description |
การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ในการประเมินและการจัดการ
ผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ในการประเมิน
และการจัดการผ้ปู ่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพ กล่มุ ตัวอย่างเป็น
พยาบาลวิชาชีพแผนกอายุรกรรม และศัลยกรรมโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย จำนวน 185 ราย
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป และ
แบบสอบถามวัดความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติไคแสควร์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน
ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ในการประเมินผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อของพยาบาล
วิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับน้อย และความรู้ในการจัดการโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และไม่
พบความสัมพันธ์ระหว่างอายุ ประสบการณ์การทำงาน และระยะเวลาการอบรม กับความรู้ในการ
ประเมินผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ สำหรับลักษณะหอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงานมีความ
สัมพันธ์กับความรู้ในการประเมินผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ ส่วนอายุ และ
ประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางลบกับความรู้ในการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะ
ช็อคจากการติดเชื้อ ระยะเวลาการอบรมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความรู้ในการจัดการผู้ป่วย
ระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะหอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงาน
กับความรู้ในการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ ผลการศึกษาครั้งนี้
มีข้อเสนอแนะว่า ควรจัดให้มีการอบรม และพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลให้กับพยาบาล
ผู้ปฏิบัติงานในเรื่องความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการ
ติดเชื้ออย่างต่อเนื่อง |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี อรอุมา ท้วมกลัด พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพัน อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ Onuma Thuamklad Poolsuk Janepanish Visudtibhan Apinya Siripitayakunkit |
format |
Article |
author |
อรอุมา ท้วมกลัด พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพัน อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ Onuma Thuamklad Poolsuk Janepanish Visudtibhan Apinya Siripitayakunkit |
author_sort |
อรอุมา ท้วมกลัด |
title |
ความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย |
title_short |
ความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย |
title_full |
ความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย |
title_fullStr |
ความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย |
title_full_unstemmed |
ความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย |
title_sort |
ความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48298 |
_version_ |
1763490248038285312 |
spelling |
th-mahidol.482982023-03-30T12:30:18Z ความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย Knowledge for Detection and Management in the Early Stage of Septic Shock Patients and Related Factors among Registered Nurses in a University Affiliated Hospital อรอุมา ท้วมกลัด พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพัน อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ Onuma Thuamklad Poolsuk Janepanish Visudtibhan Apinya Siripitayakunkit มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ภาวะช็อคจากการติดเชื้อ ความรู้ การประเมินและการจัดการ พยาบาลวิชาชีพ Septic shock Knowledge Detection and management Registered nurses การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ในการประเมินและการจัดการ ผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ในการประเมิน และการจัดการผ้ปู ่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพ กล่มุ ตัวอย่างเป็น พยาบาลวิชาชีพแผนกอายุรกรรม และศัลยกรรมโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย จำนวน 185 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป และ แบบสอบถามวัดความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติไคแสควร์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ในการประเมินผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อของพยาบาล วิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับน้อย และความรู้ในการจัดการโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และไม่ พบความสัมพันธ์ระหว่างอายุ ประสบการณ์การทำงาน และระยะเวลาการอบรม กับความรู้ในการ ประเมินผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ สำหรับลักษณะหอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงานมีความ สัมพันธ์กับความรู้ในการประเมินผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ ส่วนอายุ และ ประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางลบกับความรู้ในการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะ ช็อคจากการติดเชื้อ ระยะเวลาการอบรมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความรู้ในการจัดการผู้ป่วย ระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะหอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงาน กับความรู้ในการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการติดเชื้อ ผลการศึกษาครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะว่า ควรจัดให้มีการอบรม และพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลให้กับพยาบาล ผู้ปฏิบัติงานในเรื่องความรู้ในการประเมินและการจัดการผู้ป่วยระยะแรกของภาวะช็อคจากการ ติดเชื้ออย่างต่อเนื่อง This descriptive study aimed to study the knowledge for detection and management of patients in the early stage of septic shock among registered nurses, and was conducted to identify factors related to such knowledge. The purposive sample consisted of 185 nurses who worked in medical and surgical wards at a university affiliated hospital. Two instruments were used to collect the data: the Demographic Data Assessment Form, and the Knowledge for Detection and Management in the Early Stage of Septic Shock Patient Questionnaire. Descriptive statistics included chi square test, and Spearman’s Rank Correlation were used to analyze the data. The findings of the study showed that most of the registered nurses had a low level of knowledge for detection, and a moderate level of the knowledge for management of patients in the early stage of septic shock. Age, work experiences, and length of experience training were not related to knowledge of detection, whereas working area was related to knowledge for detection in the early stage of septic shock. In addition, age and work experiences were negatively related to knowledge for management of patients in the early stage of septic shock. Length of experience training was positively related to knowledge for management, while working area was not related to knowledge for management. This study suggested that educating all registered nurses about the knowledge for detection and management of patients in the early stage of septic shock should be provided. Moreover, the clinical practice guidelines for the early stage of septic shock patients should be developed. 2019-12-04T02:15:52Z 2019-12-04T02:15:52Z 2562-12-04 2557 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 20, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2557), 206-220 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48298 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |