ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการ ออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีปัจจัยคัดสรร ได้แก่ อาการของภาวะหมดประจำเดือน ความเครียด จำนวนบุคคลที่อยู่ในความรับผิดชอบ รายได้ ครอบครัว ลักษณะงาน จำนวนชั่วโมงปฏิบัติงานต่อสัปดาห์ การรับรู้ประโยชน์ข...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48423 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.48423 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
พฤติกรรมการออกกำลังกาย พยาบาลสตรีวัยกลางคน ความเครียด การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการออกกำลังกาย การสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกาย Exercise behavior Middle-aged female nurse Stress Perceived self-efficacy in exercise Social support for exercise |
spellingShingle |
พฤติกรรมการออกกำลังกาย พยาบาลสตรีวัยกลางคน ความเครียด การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการออกกำลังกาย การสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกาย Exercise behavior Middle-aged female nurse Stress Perceived self-efficacy in exercise Social support for exercise ธิติพร เกียรติกังวาน มณี อาภานันทิกุล พรทิพย์ มาลาธรรม Thitiporn Kiadkangwan Manee Arpanantikul Porntip Malathum ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
description |
การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการ
ออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีปัจจัยคัดสรร ได้แก่
อาการของภาวะหมดประจำเดือน ความเครียด จำนวนบุคคลที่อยู่ในความรับผิดชอบ รายได้
ครอบครัว ลักษณะงาน จำนวนชั่วโมงปฏิบัติงานต่อสัปดาห์ การรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย
การรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกาย การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการออกกำลังกาย และการ
สนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกาย โดยใช้รูปแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
เป็นกรอบแนวคิด กลุ่มตัวอย่างได้รับการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ประกอบด้วย พยาบาลสตรีอายุ
45-59 ปี จำนวน 150 คน ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลศูนย์ของภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ จำนวน 5 แห่ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามระหว่างเดือนธันวาคม 2551-
กุมภาพันธ์ 2552 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการทางสถิติด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณด้วย
วิธีบังคับเข้า (Enter method) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ปัจจัยคัดสรรทั้งหมด 10 ตัวแปร
สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือได้ร้อยละ 26.9 แต่มี 3 ปัจจัย ได้แก่ การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการ
ออกกำลังกาย ความเครียด และการสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกายที่สามารถร่วมกัน
ทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ความเครียด การรับรู้สมรรถนะแห่งตน
ในการออกกำลังกาย และการสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกายเป็นตัวแปรที่สามารถ
ร่วมกันทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ได้อย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้นควรให้ความสำคัญที่จะช่วยพยาบาลให้มีการจัดการความเครียดที่
เหมาะสม ส่งเสริมให้มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง
กระตุ้นให้มีการออกกำลังกายโดยผ่านการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวและเพื่อน |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ธิติพร เกียรติกังวาน มณี อาภานันทิกุล พรทิพย์ มาลาธรรม Thitiporn Kiadkangwan Manee Arpanantikul Porntip Malathum |
format |
Article |
author |
ธิติพร เกียรติกังวาน มณี อาภานันทิกุล พรทิพย์ มาลาธรรม Thitiporn Kiadkangwan Manee Arpanantikul Porntip Malathum |
author_sort |
ธิติพร เกียรติกังวาน |
title |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
title_short |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
title_full |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
title_fullStr |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
title_sort |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48423 |
_version_ |
1763488324801003520 |
spelling |
th-mahidol.484232023-03-31T04:12:05Z ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Factors Predicting Exercise Behavior of Middle-Aged Female Nurses in the Northeast Region of Thailand ธิติพร เกียรติกังวาน มณี อาภานันทิกุล พรทิพย์ มาลาธรรม Thitiporn Kiadkangwan Manee Arpanantikul Porntip Malathum มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี พฤติกรรมการออกกำลังกาย พยาบาลสตรีวัยกลางคน ความเครียด การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการออกกำลังกาย การสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกาย Exercise behavior Middle-aged female nurse Stress Perceived self-efficacy in exercise Social support for exercise การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการ ออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีปัจจัยคัดสรร ได้แก่ อาการของภาวะหมดประจำเดือน ความเครียด จำนวนบุคคลที่อยู่ในความรับผิดชอบ รายได้ ครอบครัว ลักษณะงาน จำนวนชั่วโมงปฏิบัติงานต่อสัปดาห์ การรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย การรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกาย การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการออกกำลังกาย และการ สนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกาย โดยใช้รูปแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ เป็นกรอบแนวคิด กลุ่มตัวอย่างได้รับการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ประกอบด้วย พยาบาลสตรีอายุ 45-59 ปี จำนวน 150 คน ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลศูนย์ของภาคตะวันออก เฉียงเหนือ จำนวน 5 แห่ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามระหว่างเดือนธันวาคม 2551- กุมภาพันธ์ 2552 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการทางสถิติด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณด้วย วิธีบังคับเข้า (Enter method) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ปัจจัยคัดสรรทั้งหมด 10 ตัวแปร สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือได้ร้อยละ 26.9 แต่มี 3 ปัจจัย ได้แก่ การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการ ออกกำลังกาย ความเครียด และการสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกายที่สามารถร่วมกัน ทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ความเครียด การรับรู้สมรรถนะแห่งตน ในการออกกำลังกาย และการสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกายเป็นตัวแปรที่สามารถ ร่วมกันทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพยาบาลสตรีวัยกลางคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้อย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้นควรให้ความสำคัญที่จะช่วยพยาบาลให้มีการจัดการความเครียดที่ เหมาะสม ส่งเสริมให้มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง กระตุ้นให้มีการออกกำลังกายโดยผ่านการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวและเพื่อน This descriptive study aimed to examine factors predicting exercise behaviors of middle-aged female nurses in the Northeast Region of Thailand. The selected factors included menopause symptoms, stress, the number of persons on one’s responsibilities, household income, work characteristics, number of working hours per week, perceived benefits of exercise behaviors, perceived barriers of exercise behaviors, perceived selfefficacy in exercise, and social support for exercise. Pender’s Health Promotion Model was employed as a conceptual framework. The sample was randomly selected through multi-stage sampling. One hundred and fifty female nurses aged 45-59 years working at five general and regional hospitals in the Northeast Region were recruited into this study. Data were collected using questionnaires during December, 2008 to February 2009. Statistical analysis including descriptive statistics, Pearson’s correlation coefficient, and multiple regression with the Enter method were used to analyze the data. The study results showed that all selected factors jointly explain 26.9% of the variance in exercise behaviors of middle-aged female nurses in the Northeast Region. However, three factors including perceived self-efficacy in exercise, stress, and social support for exercise significantly predicted exercise behaviors of middle-aged female nurses in the Northeast Region. This study indicated that perceived self-efficacy in exercise, stress, and social support for exercise were able to jointly predict exercise behaviors of middle-aged female nurses in the Northeast Region. Therefore, it is important to help those nurses use an appropriate stress management, to continuously promote their perceived self-efficacy in exercise, and to encourage them to do exercise through social support from their family and friends. 2019-12-18T02:22:15Z 2019-12-18T02:22:15Z 2562-12-18 2555 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 18, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2555), 24-42 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48423 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |