ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบวิเคราะห์ความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพ กับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 140 คน เลือกตัวอย่างแบบสุ่ม หลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการประเมินภาวะ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อัจฉรา จินดาวัฒนวงศ์, นพวรรณ เปียซื่อ, พัชรินทร์ นินทจันทร์, Atchara Jindawattanawong, Noppawan Piaseu, Patcharin Nintachan
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพชุมชน
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48426
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48426
record_format dspace
spelling th-mahidol.484262023-03-31T10:02:23Z ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย Relationship between Health Belief Perception and Type 2 Diabetic Preventive Behaviors in High School Students อัจฉรา จินดาวัฒนวงศ์ นพวรรณ เปียซื่อ พัชรินทร์ นินทจันทร์ Atchara Jindawattanawong Noppawan Piaseu Patcharin Nintachan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. สาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย การรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 High school students Health belief perception Type 2 diabetic preventive behaviors การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบวิเคราะห์ความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพ กับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 140 คน เลือกตัวอย่างแบบสุ่ม หลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการประเมินภาวะโภชนาการและการตอบแบบสอบถามด้วย ตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเพียร์สัน และไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวม การรับรู้ความรุนแรง ของโรค การรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคในการป้องกันโรคมีค่าเฉลี่ยสูง อย่างไรก็ตามการรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคและพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยตํ่า โดยเฉพาะพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหาร และการผ่อนคลายความเครียด ส่วนพฤติกรรม การออกกำลังกายมีค่าเฉลี่ยสูง ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า พฤติกรรมการป้องกัน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวม การรับรู้ ประโยชน์ในการป้องกันโรค และการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค และมีความสัมพันธ์ทางลบ กับการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันโรค ผลการศึกษามีข้อเสนอแนะต่อพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ในการส่งเสริมการรับรู้โอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคเพื่อเป็นการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกัน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของนักเรียน This correlational research was aimed at investigating the relationship between health belief perception and type 2 diabetic preventive behaviors among 140 high school students in Prachuap Khirikhan Province, Thailand. The sample was recruited through multi-stage random sampling. Data were collected using nutritional assessment and questionnaires. Data were then analyzed using descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation, and chi-square. Results revealed that the overall health perception, perceived severity, perceived benefit and barrier to disease prevention were high. However, perceived susceptibility and overall type 2 diabetic preventive behaviors were low, particularly food consumption behavior and stress relief behavior, while their exercise behavior was high. It was also found that type 2 diabetic preventive behaviors were positively associated with overall health perception, perceived benefits of disease prevention and perceived susceptibility, while were negatively associated with perceived barriers to disease prevention. The results suggest that community nurse practitioners enhance perceived susceptibility in order to promote type 2 diabetic preventive behaviors of the students. 2019-12-18T03:08:10Z 2019-12-18T03:08:10Z 2562-12-18 2555 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 18, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2555), 58-69 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48426 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพชุมชน โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
การรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพ
พฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2
High school students
Health belief perception
Type 2 diabetic preventive behaviors
spellingShingle นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
การรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพ
พฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2
High school students
Health belief perception
Type 2 diabetic preventive behaviors
อัจฉรา จินดาวัฒนวงศ์
นพวรรณ เปียซื่อ
พัชรินทร์ นินทจันทร์
Atchara Jindawattanawong
Noppawan Piaseu
Patcharin Nintachan
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
description การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบวิเคราะห์ความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพ กับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 140 คน เลือกตัวอย่างแบบสุ่ม หลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการประเมินภาวะโภชนาการและการตอบแบบสอบถามด้วย ตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเพียร์สัน และไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวม การรับรู้ความรุนแรง ของโรค การรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคในการป้องกันโรคมีค่าเฉลี่ยสูง อย่างไรก็ตามการรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคและพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยตํ่า โดยเฉพาะพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหาร และการผ่อนคลายความเครียด ส่วนพฤติกรรม การออกกำลังกายมีค่าเฉลี่ยสูง ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า พฤติกรรมการป้องกัน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวม การรับรู้ ประโยชน์ในการป้องกันโรค และการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค และมีความสัมพันธ์ทางลบ กับการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันโรค ผลการศึกษามีข้อเสนอแนะต่อพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ในการส่งเสริมการรับรู้โอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคเพื่อเป็นการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกัน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของนักเรียน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพชุมชน
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพชุมชน
อัจฉรา จินดาวัฒนวงศ์
นพวรรณ เปียซื่อ
พัชรินทร์ นินทจันทร์
Atchara Jindawattanawong
Noppawan Piaseu
Patcharin Nintachan
format Article
author อัจฉรา จินดาวัฒนวงศ์
นพวรรณ เปียซื่อ
พัชรินทร์ นินทจันทร์
Atchara Jindawattanawong
Noppawan Piaseu
Patcharin Nintachan
author_sort อัจฉรา จินดาวัฒนวงศ์
title ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48426
_version_ 1764209860917854208