ลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษา พยาบาลของสถาบันการศึกษาพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ที่กำลังศึกษาในชั้นปีที่ 3 ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการปรับตัวทางสังคม ซึ่งประเมิน 6 ด้าน คือ การปฏิบัติตามมาตรฐานทางสังคม ทักษะทางสัง...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กนกพร เรืองเพิ่มพูล, สุดา รองเมือง, พัชรินทร์ นินทจันทร์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48790
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48790
record_format dspace
spelling th-mahidol.487902023-03-30T11:36:35Z ลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล Characteristics of Social Adjustment in Nursing Students กนกพร เรืองเพิ่มพูล สุดา รองเมือง พัชรินทร์ นินทจันทร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี นักศึกษาพยาบาล การปรับตัวทางสังคม รายได้ของครอบครัว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กิจกรรมทางศาสนา Social adjustment Nursing students Family income Academic achievement Religious activities การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษา พยาบาลของสถาบันการศึกษาพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ที่กำลังศึกษาในชั้นปีที่ 3 ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการปรับตัวทางสังคม ซึ่งประเมิน 6 ด้าน คือ การปฏิบัติตามมาตรฐานทางสังคม ทักษะทางสังคม แนวโน้มพฤติกรรม ต่อต้านสังคม ความสัมพันธ์ในครอบครัว ความสัมพันธ์ในสถานศึกษา และความสัมพันธ์ใน ชุมชนที่อยู่อาศัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะการปรับตัวทางสังคมโดยภาพรวมของนักศึกษา พยาบาลอยู่ในระดับค่อนข้างดีถึงดี ส่วนลักษณะการปรับตัวทางสังคมรายด้านพบว่า การปรับตัว ด้านทักษะทางสังคม ด้านความสัมพันธ์ในสถานศึกษา และด้านความสัมพันธ์ในชุมชนที่อยู่อาศัย อยู่ในระดับค่อนข้างดี ส่วนการปรับตัวด้านการปฏิบัติตามมาตรฐานทางสังคม แนวโน้มพฤติกรรม ต่อต้านสังคม และด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวอยู่ในระดับดี จากการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย การปรับตัวทางสังคมโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่า นักศึกษาที่มีรายได้ของครอบครัว แตกต่างกัน มีการปรับตัวด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวและการปรับตัวด้านความสัมพันธ์ใน สถานศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมแตกต่างกันมี การปรับตัวด้านทักษะทางสังคมและการปรับตัวด้านความสัมพันธ์ในชุมชนที่อยู่อาศัยแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และนักศึกษาที่มีการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาแตกต่างกันมีการปรับตัว ด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวและการปรับตัวด้านความสัมพันธ์ในชุมชนและการปรับตัวทางสังคม โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษาพยาบาลมีการปรับตัวทางสังคมได้ อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น This study aimed to investigate characteristics of social adjustment among the third-year nursing students studying at a nursing institute in a university during February, 2010. The data collection was conducted by using the Social Adjustment Questionnaire including 6 subcategories: social standard, social skills, anti-social tendencies, the family relations, the school relations, and the community relations. Descriptive statistics and one-way ANOVA were utilized for data analysis. Results indicated that the mean score of total characteristics of social adjustment among nursing students ranged from the almost high to high level. The mean score of the social adjustment in subcategory of social skills, school relations, and community relations were the almost high level. The mean score of the social adjustment in subcategory of the social standard, anti-social tendencies, and family relations were the high level. When comparing the mean score of social adjustment, the results revealed that the students having different family’s incomes had significant difference in family relations and school relations. The students different in academic achievement had significant differences in family relations and school relations. Also, the students different in participating in religious activities had significant differences in the mean score of family relations, community relations, and total social adjustment. The result of this study can be used to develop a program for improving social adjustment among nursing students. 2020-01-09T09:12:33Z 2020-01-09T09:12:33Z 2563-01-09 2554 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 17, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2554), 478-492 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48790 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic นักศึกษาพยาบาล
การปรับตัวทางสังคม
รายได้ของครอบครัว
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กิจกรรมทางศาสนา
Social adjustment
Nursing students
Family income
Academic achievement
Religious activities
spellingShingle นักศึกษาพยาบาล
การปรับตัวทางสังคม
รายได้ของครอบครัว
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กิจกรรมทางศาสนา
Social adjustment
Nursing students
Family income
Academic achievement
Religious activities
กนกพร เรืองเพิ่มพูล
สุดา รองเมือง
พัชรินทร์ นินทจันทร์
ลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล
description การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษา พยาบาลของสถาบันการศึกษาพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ที่กำลังศึกษาในชั้นปีที่ 3 ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการปรับตัวทางสังคม ซึ่งประเมิน 6 ด้าน คือ การปฏิบัติตามมาตรฐานทางสังคม ทักษะทางสังคม แนวโน้มพฤติกรรม ต่อต้านสังคม ความสัมพันธ์ในครอบครัว ความสัมพันธ์ในสถานศึกษา และความสัมพันธ์ใน ชุมชนที่อยู่อาศัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะการปรับตัวทางสังคมโดยภาพรวมของนักศึกษา พยาบาลอยู่ในระดับค่อนข้างดีถึงดี ส่วนลักษณะการปรับตัวทางสังคมรายด้านพบว่า การปรับตัว ด้านทักษะทางสังคม ด้านความสัมพันธ์ในสถานศึกษา และด้านความสัมพันธ์ในชุมชนที่อยู่อาศัย อยู่ในระดับค่อนข้างดี ส่วนการปรับตัวด้านการปฏิบัติตามมาตรฐานทางสังคม แนวโน้มพฤติกรรม ต่อต้านสังคม และด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวอยู่ในระดับดี จากการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย การปรับตัวทางสังคมโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่า นักศึกษาที่มีรายได้ของครอบครัว แตกต่างกัน มีการปรับตัวด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวและการปรับตัวด้านความสัมพันธ์ใน สถานศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมแตกต่างกันมี การปรับตัวด้านทักษะทางสังคมและการปรับตัวด้านความสัมพันธ์ในชุมชนที่อยู่อาศัยแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และนักศึกษาที่มีการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาแตกต่างกันมีการปรับตัว ด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวและการปรับตัวด้านความสัมพันธ์ในชุมชนและการปรับตัวทางสังคม โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษาพยาบาลมีการปรับตัวทางสังคมได้ อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
กนกพร เรืองเพิ่มพูล
สุดา รองเมือง
พัชรินทร์ นินทจันทร์
format Article
author กนกพร เรืองเพิ่มพูล
สุดา รองเมือง
พัชรินทร์ นินทจันทร์
author_sort กนกพร เรืองเพิ่มพูล
title ลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล
title_short ลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล
title_full ลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล
title_fullStr ลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล
title_full_unstemmed ลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล
title_sort ลักษณะการปรับตัวทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48790
_version_ 1763487378611109888