การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรก ของผู้ที่เป็นเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 400 ราย เป็น กลุ่มญาติสายตรงของผู้ที่เป็นเบาหวานจำนวน 2...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48822 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.48822 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ วิถีชีวิตที่ส่งเสริม สุขภาพ ญาติสายตรงลำดับแรก เบาหวาน Perceived risk Criteria-based risk to diabetes mellitus Health-promoting lifestyles First degree relatives Diabetes mellitus |
spellingShingle |
การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ วิถีชีวิตที่ส่งเสริม สุขภาพ ญาติสายตรงลำดับแรก เบาหวาน Perceived risk Criteria-based risk to diabetes mellitus Health-promoting lifestyles First degree relatives Diabetes mellitus เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก บุญจันทร์ วงศ์สุนพรัตน์ อุมาพร อุดมทรัพยากุล เฉลิมศรี นันทวรรณ Petcharat Kerdonfag Boonchan Wongsunopparat Umaporn Udomsubpayakul Chalermsri Nuntawan การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน |
description |
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ความเสี่ยง
ความเสี่ยงต่อการเกิดเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรก
ของผู้ที่เป็นเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 400 ราย เป็น
กลุ่มญาติสายตรงของผู้ที่เป็นเบาหวานจำนวน 200 รายและกลุ่มประชาชนทั่วไปจำนวน 200 ราย
ทำการเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลรามาธิบดีและพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลรามาธิบดี เก็บ
ข้อมูลโดยสัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม ในช่วงปี พ.ศ. 2551 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย
ไคสแควร์ พบว่าการเป็นญาติสายตรงของผู้ที่เป็นเบาหวานไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความ
เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ส่วนระดับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์มีความ
สัมพันธ์กับการเป็นญาติสายตรงของผู้ที่เป็นเบาหวานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการทดสอบ
ด้วย t-test พบว่า กลุ่มญาติสายตรงของผู้ที่เป็นเบาหวานมีคะแนนเฉลี่ยความเสี่ยงต่อการเกิด
โรคเบาหวานตามเกณฑ์สูงกว่ากลุ่มประชาชนทั่วไปอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เป็นที่สังเกตว่า
กลุ่มประชาชนทั่วไป มีความเสี่ยงต่อเบาหวานตามเกณฑ์ ในระดับสูง ถึงร้อยละ 39 นอกจากนี้ พบว่า
การรับรู้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและระดับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตาม
เกณฑ์ไม่มีความสัมพันธ์กัน เมื่อเปรียบเทียบวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพ 6 ด้าน คือ ความรับผิดชอบ
ต่อสุขภาพ การออกกำลังกาย โภชนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การพัฒนาทางจิตวิญญาณ
การจัดการกับความเครียด ระหว่างสองกลุ่ม พบว่าไม่มีความแตกต่างกัน จากผลการศึกษาครั้งนี้
ทำให้ทีมบุคลากรสุขภาพควรปรับปรุงหรือค้นหากลยุทธ์ใหม่ในการที่จะทำให้ผู้ที่มีความเสี่ยง
ต่อการเกิดโรคเบาหวาน และประชาชนทั่วไปที่ยังไม่เกิดโรคเบาหวาน มีความตระหนักถึงการมี
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมต่อการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานให้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อ
เป็นลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานในอนาคต |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก บุญจันทร์ วงศ์สุนพรัตน์ อุมาพร อุดมทรัพยากุล เฉลิมศรี นันทวรรณ Petcharat Kerdonfag Boonchan Wongsunopparat Umaporn Udomsubpayakul Chalermsri Nuntawan |
format |
Article |
author |
เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก บุญจันทร์ วงศ์สุนพรัตน์ อุมาพร อุดมทรัพยากุล เฉลิมศรี นันทวรรณ Petcharat Kerdonfag Boonchan Wongsunopparat Umaporn Udomsubpayakul Chalermsri Nuntawan |
author_sort |
เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก |
title |
การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_short |
การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_full |
การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_fullStr |
การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_full_unstemmed |
การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_sort |
การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48822 |
_version_ |
1763489142664069120 |
spelling |
th-mahidol.488222023-03-31T09:05:02Z การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน Perceived Risk, Criteria-Based Risk to Diabetes Mellitus, and Health-Promoting Lifestyles in the First Degree Relatives of Persons with Diabetes Mellitus เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก บุญจันทร์ วงศ์สุนพรัตน์ อุมาพร อุดมทรัพยากุล เฉลิมศรี นันทวรรณ Petcharat Kerdonfag Boonchan Wongsunopparat Umaporn Udomsubpayakul Chalermsri Nuntawan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. สำนักงานวิจัย. กลุ่มงานระบาดวิทยาคลินิกและชีวสถิติ การรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์ วิถีชีวิตที่ส่งเสริม สุขภาพ ญาติสายตรงลำดับแรก เบาหวาน Perceived risk Criteria-based risk to diabetes mellitus Health-promoting lifestyles First degree relatives Diabetes mellitus การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ความเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเกิดเบาหวานตามเกณฑ์ และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรก ของผู้ที่เป็นเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 400 ราย เป็น กลุ่มญาติสายตรงของผู้ที่เป็นเบาหวานจำนวน 200 รายและกลุ่มประชาชนทั่วไปจำนวน 200 ราย ทำการเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลรามาธิบดีและพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลรามาธิบดี เก็บ ข้อมูลโดยสัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม ในช่วงปี พ.ศ. 2551 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย ไคสแควร์ พบว่าการเป็นญาติสายตรงของผู้ที่เป็นเบาหวานไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ส่วนระดับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์มีความ สัมพันธ์กับการเป็นญาติสายตรงของผู้ที่เป็นเบาหวานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการทดสอบ ด้วย t-test พบว่า กลุ่มญาติสายตรงของผู้ที่เป็นเบาหวานมีคะแนนเฉลี่ยความเสี่ยงต่อการเกิด โรคเบาหวานตามเกณฑ์สูงกว่ากลุ่มประชาชนทั่วไปอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เป็นที่สังเกตว่า กลุ่มประชาชนทั่วไป มีความเสี่ยงต่อเบาหวานตามเกณฑ์ ในระดับสูง ถึงร้อยละ 39 นอกจากนี้ พบว่า การรับรู้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและระดับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตาม เกณฑ์ไม่มีความสัมพันธ์กัน เมื่อเปรียบเทียบวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพ 6 ด้าน คือ ความรับผิดชอบ ต่อสุขภาพ การออกกำลังกาย โภชนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การพัฒนาทางจิตวิญญาณ การจัดการกับความเครียด ระหว่างสองกลุ่ม พบว่าไม่มีความแตกต่างกัน จากผลการศึกษาครั้งนี้ ทำให้ทีมบุคลากรสุขภาพควรปรับปรุงหรือค้นหากลยุทธ์ใหม่ในการที่จะทำให้ผู้ที่มีความเสี่ยง ต่อการเกิดโรคเบาหวาน และประชาชนทั่วไปที่ยังไม่เกิดโรคเบาหวาน มีความตระหนักถึงการมี พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมต่อการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานให้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อ เป็นลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานในอนาคต The purpose of this descriptive study was to explore perceived risk, criteria-based risk to diabetes mellitus, and health-promoting lifestyle in the first degree relatives of patients with diabetes mellitus. Four hundred cases with purposive sampling were recruited—200 first degree relatives of persons with diabetes mellitus and 200 lay people. The study was conducted from January to December 2008 in Ramathibodi Hospital and catchment areas. Data collection was conducted in 2008 using four questionnaires. Using chi-square test, results showed that being the first degree relatives of persons with diabetes was not significantly correlated with perceived risk to diabetes. However, criteria-based risk to diabetes and being the first degree relatives of persons with diabetes were significantly correlated. Using t test, results revealed that the mean score of criteria-based risk to diabetes in the first degree relatives of persons with diabetes was significantly higher than that in the lay people. However, it is noted that 39% of the lay people were in the high level of criteria-based risk. In addition, perceived risk to diabetes and criteria-based risk to diabetes were not significantly correlated. When the mean scores of the health-promoting lifestyle for 6 dimensions (health responsibility, physical activity, nutrition, interpersonal support, spiritual growth, and stress management) between both groups were compared, no significant differences were found. These findings suggested that health care providers need to implement appropriate strategies for the first degree relatives of persons with diabetes mellitus and lay people at risk to engage in healthy lifestyles in order to decrease risks to diabetes in the future. 2020-01-10T09:13:15Z 2020-01-10T09:13:15Z 2563-01-10 2553 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 16, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2553), 169-184 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48822 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มงานระบาดวิทยาคลินิกและชีวสถิติ สำนักงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |