การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ Frame-based และ Frameless

ปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทที่มีพยาธิสภาพหรือรอยโรคในเนื้อสมองที่มารับการผ่าตัดเพิ่มขึ้นในแต่ละปี ซึ่งโรคที่พบได้มากที่สุด คือ โรคเนื้องอกสมอง พบว่าเป็น 1 ใน 5 ลำดับโรคแรกของหน่วยผ่าตัดประสาทศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช สำหรับแนวทางการรักษาในปัจจุบันพบว่ามีหลากหลาย เช่น การผ่าตัดเอาเนื้องอกออกท...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วชิราภรณ์ แก้วมาตย์, ธีรพล วิทธิเวช, Wachiraporn Kaewmart, Theerapol Witthiwej
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48846
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48846
record_format dspace
spelling th-mahidol.488462023-03-30T14:50:12Z การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ Frame-based และ Frameless Nursing Care for Patients Undergoing Frame-based and Frameless Stereotactic Brain Biopsy วชิราภรณ์ แก้วมาตย์ ธีรพล วิทธิเวช Wachiraporn Kaewmart Theerapol Witthiwej มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาศัลยศาสตร์ เนื้องอกสมอง การพยาบาลปริศัลยกรรม การผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถี brain tumor perioperative nursing stereotactic brain biopsy วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand ปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทที่มีพยาธิสภาพหรือรอยโรคในเนื้อสมองที่มารับการผ่าตัดเพิ่มขึ้นในแต่ละปี ซึ่งโรคที่พบได้มากที่สุด คือ โรคเนื้องอกสมอง พบว่าเป็น 1 ใน 5 ลำดับโรคแรกของหน่วยผ่าตัดประสาทศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช สำหรับแนวทางการรักษาในปัจจุบันพบว่ามีหลากหลาย เช่น การผ่าตัดเอาเนื้องอกออกทั้งหมดหรือบางส่วน โดยการทำ craniotomy, awake craniotomy หรือ endoscopic เป็นต้น การผ่าตัดสมองเป็นการผ่าตัดที่มีความยุ่งยากซับซ้อน โดยเฉพาะในตำแหน่งที่ลึกและอันตราย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการกำหนดตำแหน่งของพยาธิสภาพที่เนื้อสมองอย่างละเอียด เพื่อให้การผ่าตัดตรงตำแหน่งที่ถูกต้อง และป้องกันการบาดเจ็บที่เนื้อสมองส่วนอื่นๆ ลดภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด ดังนั้นจึงต้องมีการใช้เครื่องกำหนดตำแหน่งในสมองแบบ stereotactic system เพื่อช่วยในการหาตำแหน่งของพยาธิสภาพของเนื้อสมองที่แน่นอน และแม่นยำในการวินิจฉัยและการผ่าตัด ทำให้การผ่าตัดมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้น พยาบาลห้องผ่าตัดจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจกระบวนการผ่าตัดและการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยและการผ่าตัดประสบความสำเร็จ บทความฉบับนี้นิพนธ์จากประสบการณ์ของผู้นิพนธ์และการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ frame-based และ frameless และการพยาบาลในระยะก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด และหลังผ่าตัด เพื่อเป็นประโยชน์แก่พยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ In current times, there are an increased number of pathological brain tumor cases that require to be operated every year of which the most common disease is a brain tumor. In Siriraj hospital, brain tumor ranks number one compared to other five diseases of neurosurgery unit. Current treatment of brain tumor usually involves removal of tumor through various methods, such as craniotomy, awake craniotomy, endoscopic surgeries. Brain surgery is a complicated surgery, especially that involves removal of a deeper structures or dangerous areas, therefore it is necessary to correctly determine the location of the pathology in the brain without causing injury or destruction of other normal brain structures to reduce post-operative complications. Thus, stereotactic system is used to accurately guide the surgeon of the location and direction during surgery for safe removal of as much abnormal tissue as possible while leaving normal and healthy brain relatively intact, resulting in efficiency of the surgery. Therefore, it is imperative that perioperative nurses have understanding and knowledge of surgical procedure and care management of this group of patients for patient safety and successful operation. Based on the authors’ experience in this field and the related literature review, this paper was written with the purpose to present the information of frame-based and frameless stereotactic brain biopsy and perioperative nursing care which would benefit to nurses who care for this group of patients. 2020-01-15T04:34:40Z 2020-01-15T04:34:40Z 2563-01-15 2562 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 37, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2562), 4-19 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48846 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic เนื้องอกสมอง
การพยาบาลปริศัลยกรรม
การผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถี
brain tumor
perioperative nursing
stereotactic brain biopsy
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
spellingShingle เนื้องอกสมอง
การพยาบาลปริศัลยกรรม
การผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถี
brain tumor
perioperative nursing
stereotactic brain biopsy
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
วชิราภรณ์ แก้วมาตย์
ธีรพล วิทธิเวช
Wachiraporn Kaewmart
Theerapol Witthiwej
การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ Frame-based และ Frameless
description ปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทที่มีพยาธิสภาพหรือรอยโรคในเนื้อสมองที่มารับการผ่าตัดเพิ่มขึ้นในแต่ละปี ซึ่งโรคที่พบได้มากที่สุด คือ โรคเนื้องอกสมอง พบว่าเป็น 1 ใน 5 ลำดับโรคแรกของหน่วยผ่าตัดประสาทศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช สำหรับแนวทางการรักษาในปัจจุบันพบว่ามีหลากหลาย เช่น การผ่าตัดเอาเนื้องอกออกทั้งหมดหรือบางส่วน โดยการทำ craniotomy, awake craniotomy หรือ endoscopic เป็นต้น การผ่าตัดสมองเป็นการผ่าตัดที่มีความยุ่งยากซับซ้อน โดยเฉพาะในตำแหน่งที่ลึกและอันตราย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการกำหนดตำแหน่งของพยาธิสภาพที่เนื้อสมองอย่างละเอียด เพื่อให้การผ่าตัดตรงตำแหน่งที่ถูกต้อง และป้องกันการบาดเจ็บที่เนื้อสมองส่วนอื่นๆ ลดภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด ดังนั้นจึงต้องมีการใช้เครื่องกำหนดตำแหน่งในสมองแบบ stereotactic system เพื่อช่วยในการหาตำแหน่งของพยาธิสภาพของเนื้อสมองที่แน่นอน และแม่นยำในการวินิจฉัยและการผ่าตัด ทำให้การผ่าตัดมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้น พยาบาลห้องผ่าตัดจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจกระบวนการผ่าตัดและการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยและการผ่าตัดประสบความสำเร็จ บทความฉบับนี้นิพนธ์จากประสบการณ์ของผู้นิพนธ์และการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ frame-based และ frameless และการพยาบาลในระยะก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด และหลังผ่าตัด เพื่อเป็นประโยชน์แก่พยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
วชิราภรณ์ แก้วมาตย์
ธีรพล วิทธิเวช
Wachiraporn Kaewmart
Theerapol Witthiwej
format Article
author วชิราภรณ์ แก้วมาตย์
ธีรพล วิทธิเวช
Wachiraporn Kaewmart
Theerapol Witthiwej
author_sort วชิราภรณ์ แก้วมาตย์
title การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ Frame-based และ Frameless
title_short การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ Frame-based และ Frameless
title_full การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ Frame-based และ Frameless
title_fullStr การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ Frame-based และ Frameless
title_full_unstemmed การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ Frame-based และ Frameless
title_sort การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดสมองด้วยระบบนำวิถีแบบ frame-based และ frameless
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48846
_version_ 1763490929183817728