ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอดต่อความเครียด และการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการพยาบาลแบบสนับสนุน ประคับประคองในระยะคลอด ต่อความเครียดและการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดา วัยรุ่นครรภ์แรก การเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นแบบเฉพาะเจาะจงจากมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกที่มีอายุ ระหว่าง 13-19 ปี ที่มาคลอดที่โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ ประชาชื่น จำ...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52544 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.52544 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.525442023-03-31T06:26:59Z ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอดต่อความเครียด และการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก The Effect of Nursing Support during Labor on Laboring Stress and Perception of Childbirth Experience of First-time Teenage Mothers บุญทวี สุนทรลิ้มศิริ ศรีสมร ภูมนสกุล อรพินธ์ เจริญผล Boontawee Soontornlimsiri Srisamorn Phumonsakul Orapin Chareonpol มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ การพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคอง ความเครียดในระยะคลอด การรับรู้ ประสบการณ์การคลอด มารดาวัยรุ่น Nursing support Laboring stress Perception of childbirth experience Teenage mothers การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการพยาบาลแบบสนับสนุน ประคับประคองในระยะคลอด ต่อความเครียดและการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดา วัยรุ่นครรภ์แรก การเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นแบบเฉพาะเจาะจงจากมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกที่มีอายุ ระหว่าง 13-19 ปี ที่มาคลอดที่โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ ประชาชื่น จำนวน 70 ราย แบ่งเป็น กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 35 ราย โดยกลุ่มควบคุมจะได้รับการดูแลตามปกติ และ กลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะรอคลอด ระยะคลอด และ ระยะหลังคลอด 2 ชั่วโมงจากผู้วิจัย ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2551 รวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความเครียดของมารดาวัยรุ่นในระยะคลอด และแบบสอบถามการ รับรู้ประสบการณ์การคลอด การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนน เฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างทั้งสอง ใช้การทดสอบทีแบบอิสระ (Independent t-test) ผลการวิจัยพบว่า มารดาวัยรุ่นครรภ์แรกกลุ่มทดลองมีความเครียดในระยะคลอดต่ำกว่า และมีการรับรู้ประสบการณ์ การคลอดดีกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้เสนอแนะว่า การพยาบาล แบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอด สามารถนำมาใช้ในการพยาบาลดูแลมารดาวัยรุ่น ในระยะคลอด เพื่อช่วยในการลดความเครียดของมารดาวัยรุ่นในระยะคลอด และช่วยให้มารดา วัยรุ่นมีการรับรู้ประสบการณ์การคลอดที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้มารดาวัยรุ่นสามารถปรับบทบาทการ เป็นมารดาได้อย่างเหมาะสม This quasi-experimental study aimed to investigate the effect of nursing support during labor on laboring stress and perception of childbirth experience of first-time teenage mother. The sample consisted of 70 teenage mothers who were purposively selected from the labor and delivery unit at Kasemrad Prachachuen Hospital. They were equally divided into the control and experimental groups. The control group received the usual care from nursing staffs, while the experimental group received nursing support during labor from the researchers. This study was carried out between June and August 2008. Data were collected using the Laboring Stress Questionnaire and the Perception of Childbirth Experience Questionnaire. Data were analyzed using independent t-test. The results of this study showed that the first-time teenage mothers in the experimental group had significantly lower laboring stress and had had better childbirth experiences than did in the control group. Findings of this study have led to the conclusion that nursing support during labor can assist laboring teenage mothers in decreasing laboring stress and promote positive childbirth experiences that will lead to proper role attainment of teenage mothers. 2020-02-20T08:24:26Z 2020-02-20T08:24:26Z 2563-02-20 2552 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 15, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2552), 361-372 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52544 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคอง ความเครียดในระยะคลอด การรับรู้ ประสบการณ์การคลอด มารดาวัยรุ่น Nursing support Laboring stress Perception of childbirth experience Teenage mothers |
spellingShingle |
การพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคอง ความเครียดในระยะคลอด การรับรู้ ประสบการณ์การคลอด มารดาวัยรุ่น Nursing support Laboring stress Perception of childbirth experience Teenage mothers บุญทวี สุนทรลิ้มศิริ ศรีสมร ภูมนสกุล อรพินธ์ เจริญผล Boontawee Soontornlimsiri Srisamorn Phumonsakul Orapin Chareonpol ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอดต่อความเครียด และการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก |
description |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการพยาบาลแบบสนับสนุน
ประคับประคองในระยะคลอด ต่อความเครียดและการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดา
วัยรุ่นครรภ์แรก การเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นแบบเฉพาะเจาะจงจากมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกที่มีอายุ
ระหว่าง 13-19 ปี ที่มาคลอดที่โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ ประชาชื่น จำนวน 70 ราย แบ่งเป็น
กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 35 ราย โดยกลุ่มควบคุมจะได้รับการดูแลตามปกติ และ
กลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะรอคลอด ระยะคลอด และ
ระยะหลังคลอด 2 ชั่วโมงจากผู้วิจัย ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2551 รวบรวม
ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความเครียดของมารดาวัยรุ่นในระยะคลอด และแบบสอบถามการ
รับรู้ประสบการณ์การคลอด การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนน
เฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างทั้งสอง ใช้การทดสอบทีแบบอิสระ (Independent t-test) ผลการวิจัยพบว่า
มารดาวัยรุ่นครรภ์แรกกลุ่มทดลองมีความเครียดในระยะคลอดต่ำกว่า และมีการรับรู้ประสบการณ์
การคลอดดีกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้เสนอแนะว่า การพยาบาล
แบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอด สามารถนำมาใช้ในการพยาบาลดูแลมารดาวัยรุ่น
ในระยะคลอด เพื่อช่วยในการลดความเครียดของมารดาวัยรุ่นในระยะคลอด และช่วยให้มารดา
วัยรุ่นมีการรับรู้ประสบการณ์การคลอดที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้มารดาวัยรุ่นสามารถปรับบทบาทการ
เป็นมารดาได้อย่างเหมาะสม |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ บุญทวี สุนทรลิ้มศิริ ศรีสมร ภูมนสกุล อรพินธ์ เจริญผล Boontawee Soontornlimsiri Srisamorn Phumonsakul Orapin Chareonpol |
format |
Article |
author |
บุญทวี สุนทรลิ้มศิริ ศรีสมร ภูมนสกุล อรพินธ์ เจริญผล Boontawee Soontornlimsiri Srisamorn Phumonsakul Orapin Chareonpol |
author_sort |
บุญทวี สุนทรลิ้มศิริ |
title |
ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอดต่อความเครียด และการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก |
title_short |
ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอดต่อความเครียด และการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก |
title_full |
ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอดต่อความเครียด และการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก |
title_fullStr |
ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอดต่อความเครียด และการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก |
title_full_unstemmed |
ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอดต่อความเครียด และการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก |
title_sort |
ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนประคับประคองในระยะคลอดต่อความเครียด และการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52544 |
_version_ |
1763488060879667200 |