แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง

วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อ พัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้าง ของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง เนื่องจากหากปล่อยให้เกิดการคั่งค้าง ของเสมหะจะทำให้ขัดขวางการแลกเปลี่ยนก๊าซ ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจน และอาจเสีย ชีวิตได้ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้กระบวนการทบทวนอย่างเป...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จิตสิริ รุ่นใหม่, เสริมศรี สันตติ, เรณู พุกบุญมี, Jitsiri Roonmai, Sermsri Santati, Renu Pookboonmee
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52547
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.52547
record_format dspace
spelling th-mahidol.525472023-03-31T05:54:38Z แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง Clinical Nursing Practice Guideline to Decrease Retained Secretions in Adolescents with Bronchiectasis จิตสิริ รุ่นใหม่ เสริมศรี สันตติ เรณู พุกบุญมี Jitsiri Roonmai Sermsri Santati Renu Pookboonmee มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ แนวปฏิบัติการพยาบาล การคั่งค้างของเสมหะ เด็กวัยรุ่น โรคหลอดลมโป่งพอง Clinical nursing practice guideline Retained secretions Adolescents Bronchiectasis วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อ พัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้าง ของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง เนื่องจากหากปล่อยให้เกิดการคั่งค้าง ของเสมหะจะทำให้ขัดขวางการแลกเปลี่ยนก๊าซ ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจน และอาจเสีย ชีวิตได้ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้กระบวนการทบทวนอย่างเป็นระบบและกระบวนการพัฒนาการ ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งมีงานวิจัยและบทความทางวิชาการที่สัมพันธ์ กับการลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพองทั้งหมด 25 เรื่อง แนวปฏิบัติการพยาบาลที่พัฒนาขึ้น ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่านที่มีความ เชี่ยวชาญในสาขากุมารเวชศาสตร์และสาขาการพยาบาลเด็ก ในเรื่องความถูกต้องของเนื้อหา ความตรงกับปัญหาทางคลินิกที่ต้องการแก้ไข ความน่าเชื่อถือเพียงพอที่จะนำไปใช้ และแนว โน้มหรือความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้ในการปฏิบัติ แนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ประกอบด้วย 1) การประเมินความสามารถในการไอ 2) การประเมินอาการทางคลินิก 3) การประเมินความ เหนียวของเสมหะ 4) การประเมินสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ 5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำอย่าง เพียงพอตามแผนการรักษาของแพทย์ 6) การเลือกใช้วิธีระบายเสมหะ และ 7) การประเมิน ประสิทธิภาพในการระบายเสมหะ การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าควรนำแนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ ไปทดลองใช้ในหน่วยงาน โดยมีการประเมินและติดตามผล ตลอดจนดัดแปลงและปรับปรุง แนวปฏิบัติการพยาบาลให้เหมาะสม The purpose of this study was to develop clinical nursing practice guidelines to decrease retained secretions in adolescents with bronchiectasis. These conditions eventually cause imbalance in gas exchange between the arteries and air sacs and eventually could lead to hypoxemia, respiratory failure or death. This study used a systematic review and development process of nursing practice guideline involving evidence based practice. A total of 25 academic research articles related to topics of a decrease of retained secretions in adolescents with bronchiectasis were selected. Five experts in the field of pediatric medicine and pediatric nursing were invited to validate the guidelines for accuracy including content, clinical relevance, scientific merits, and potential for use in clinical practice. The guidelines consist of the following steps: 1) assessing the cough capability; 2) assessing the clinical symptoms; 3) assessing the sputum viscoelasticity; 4) assessing the patient’s hydration status; 5) ensuring the adequate fluid intake for the patient as ordered by the doctor; 6) selecting secretion clearance technique; and 7) assessing efficacy of secretion clearance. It is recommended that these guidelines should first be tested in the respiratory unit. Outcomes should be evaluated and followed-up in order to improve the guidelines to use suitably. 2020-02-20T09:33:17Z 2020-02-20T09:33:17Z 2563-02-20 2552 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 15, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2552), 400-416 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52547 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic แนวปฏิบัติการพยาบาล
การคั่งค้างของเสมหะ
เด็กวัยรุ่น
โรคหลอดลมโป่งพอง
Clinical nursing practice guideline
Retained secretions
Adolescents
Bronchiectasis
spellingShingle แนวปฏิบัติการพยาบาล
การคั่งค้างของเสมหะ
เด็กวัยรุ่น
โรคหลอดลมโป่งพอง
Clinical nursing practice guideline
Retained secretions
Adolescents
Bronchiectasis
จิตสิริ รุ่นใหม่
เสริมศรี สันตติ
เรณู พุกบุญมี
Jitsiri Roonmai
Sermsri Santati
Renu Pookboonmee
แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง
description วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อ พัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้าง ของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง เนื่องจากหากปล่อยให้เกิดการคั่งค้าง ของเสมหะจะทำให้ขัดขวางการแลกเปลี่ยนก๊าซ ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจน และอาจเสีย ชีวิตได้ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้กระบวนการทบทวนอย่างเป็นระบบและกระบวนการพัฒนาการ ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งมีงานวิจัยและบทความทางวิชาการที่สัมพันธ์ กับการลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพองทั้งหมด 25 เรื่อง แนวปฏิบัติการพยาบาลที่พัฒนาขึ้น ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่านที่มีความ เชี่ยวชาญในสาขากุมารเวชศาสตร์และสาขาการพยาบาลเด็ก ในเรื่องความถูกต้องของเนื้อหา ความตรงกับปัญหาทางคลินิกที่ต้องการแก้ไข ความน่าเชื่อถือเพียงพอที่จะนำไปใช้ และแนว โน้มหรือความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้ในการปฏิบัติ แนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ประกอบด้วย 1) การประเมินความสามารถในการไอ 2) การประเมินอาการทางคลินิก 3) การประเมินความ เหนียวของเสมหะ 4) การประเมินสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ 5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำอย่าง เพียงพอตามแผนการรักษาของแพทย์ 6) การเลือกใช้วิธีระบายเสมหะ และ 7) การประเมิน ประสิทธิภาพในการระบายเสมหะ การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าควรนำแนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ ไปทดลองใช้ในหน่วยงาน โดยมีการประเมินและติดตามผล ตลอดจนดัดแปลงและปรับปรุง แนวปฏิบัติการพยาบาลให้เหมาะสม
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
จิตสิริ รุ่นใหม่
เสริมศรี สันตติ
เรณู พุกบุญมี
Jitsiri Roonmai
Sermsri Santati
Renu Pookboonmee
format Article
author จิตสิริ รุ่นใหม่
เสริมศรี สันตติ
เรณู พุกบุญมี
Jitsiri Roonmai
Sermsri Santati
Renu Pookboonmee
author_sort จิตสิริ รุ่นใหม่
title แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง
title_short แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง
title_full แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง
title_fullStr แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง
title_full_unstemmed แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง
title_sort แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะในผู้ป่วยเด็กวัยรุ่นที่เป็นโรคหลอดลมโป่งพอง
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52547
_version_ 1763494330252656640