ผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสมต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดของนักศึกษาพยาบาล

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสม ต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการเรียนรู้การเรียนการสอนในห้องผ่าตัด กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลรามาธิบดีชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2549 จำนวน 60 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน โดยกลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มควบคุมได้รับการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม, ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล, Kieratikan Payngulume, Sriwiengkaew Tengkiattrakul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52548
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.52548
record_format dspace
spelling th-mahidol.525482023-03-30T15:40:29Z ผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสมต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดของนักศึกษาพยาบาล The Effect of Using Multimedia on Expectation and Satisfaction with the Teaching-Learning Approach in Operating Rooms among Nursing Students กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล Kieratikan Payngulume Sriwiengkaew Tengkiattrakul มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ การประยุกต์ใช้สื่อประสม การเรียนรู้แบบเอกซ์พาร์ส ความคาดหวัง ความพึงพอใจ ห้องผ่าตัด นักศึกษาพยาบาล Multimedia for learning, ExPARS model Expectation Satisfaction Operating rooms Nursing students การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสม ต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการเรียนรู้การเรียนการสอนในห้องผ่าตัด กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลรามาธิบดีชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2549 จำนวน 60 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน โดยกลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มควบคุมได้รับการสอนแบบปกติ และกลุ่มที่ 2 คือ กลุ่ม ทดลองได้รับการสอนแบบประยุกต์ใช้สื่อประสมในการเรียนรู้แบบเอกซ์พาร์ส (ExPARS: Exploring needs, Planning, Activity, Reflecting, and Synthesizing) โดยใช้ระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต่ มิถุนายน พ.ศ. 2549 ถึงกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความคาดหวัง และความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนในห้องผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง 2 กลุ่มโดยใช้สถิติแบบ Independent t-test ผลการวิจัย พบว่า ความคาดหวังในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดทั้งรายด้านและโดยรวมระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจ ในการเรียนการสอนของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งรายด้านและโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะว่า อาจารย์พยาบาลห้องผ่าตัดควรให้ความสำคัญกับการ กำหนดกลยุทธ์ที่สามารถพัฒนาวิธีการเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการศึกษาในการสนับสนุน การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และอาจช่วยแก้ปัญหาการขาดประสบการณ์การเรียนรู้ในห้อง ผ่าตัด ในขณะที่นักศึกษามีจำนวนเพิ่มมากขึ้นแต่แหล่งฝึกมีจำกัด This quasi-experimental study aimed to compare the expectation and satisfaction of students toward using multimedia for learning in the operating room. A total of 60 third-year nursing students in academic year 2005 were recruited in the study. They were assigned into two groups: the control group receiving conventional lecture and demonstration for learning, while the experimental group receiving multimedia tools for learning using the ExPARS model (Exploring needs, Planning, Activity, Reflecting, and Synthesizing). Data were collected from May 2005 to February 2006 using the Expectation and Satisfaction toward Learning Model in Operating Room Questionnaires. Data were analyzed using descriptive statistics and independent t-test statistics. Results revealed that expectation with learning for both overall and subscale scores between the experimental group and the control group was not significantly different. However, satisfaction with learning for both overall and subscale scores in the experimental group was significantly higher than that in the control group. The suggestion from this study is that nurse instructors in the operating room should pay more attention to establish strategies to improve nursing students’ learning by using educational technology to support effective learning. This may solve the problem of having insufficient learning experiences in the operating room, while the number of nursing students is creasing with a limited resource. 2020-02-20T09:37:17Z 2020-02-20T09:37:17Z 2563-02-20 2552 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 15, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2552), 417-430 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52548 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การประยุกต์ใช้สื่อประสม
การเรียนรู้แบบเอกซ์พาร์ส
ความคาดหวัง
ความพึงพอใจ
ห้องผ่าตัด
นักศึกษาพยาบาล
Multimedia for learning,
ExPARS model
Expectation
Satisfaction
Operating rooms
Nursing students
spellingShingle การประยุกต์ใช้สื่อประสม
การเรียนรู้แบบเอกซ์พาร์ส
ความคาดหวัง
ความพึงพอใจ
ห้องผ่าตัด
นักศึกษาพยาบาล
Multimedia for learning,
ExPARS model
Expectation
Satisfaction
Operating rooms
Nursing students
กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม
ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล
Kieratikan Payngulume
Sriwiengkaew Tengkiattrakul
ผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสมต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดของนักศึกษาพยาบาล
description การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสม ต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการเรียนรู้การเรียนการสอนในห้องผ่าตัด กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลรามาธิบดีชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2549 จำนวน 60 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน โดยกลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มควบคุมได้รับการสอนแบบปกติ และกลุ่มที่ 2 คือ กลุ่ม ทดลองได้รับการสอนแบบประยุกต์ใช้สื่อประสมในการเรียนรู้แบบเอกซ์พาร์ส (ExPARS: Exploring needs, Planning, Activity, Reflecting, and Synthesizing) โดยใช้ระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต่ มิถุนายน พ.ศ. 2549 ถึงกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความคาดหวัง และความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนในห้องผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง 2 กลุ่มโดยใช้สถิติแบบ Independent t-test ผลการวิจัย พบว่า ความคาดหวังในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดทั้งรายด้านและโดยรวมระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจ ในการเรียนการสอนของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งรายด้านและโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะว่า อาจารย์พยาบาลห้องผ่าตัดควรให้ความสำคัญกับการ กำหนดกลยุทธ์ที่สามารถพัฒนาวิธีการเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการศึกษาในการสนับสนุน การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และอาจช่วยแก้ปัญหาการขาดประสบการณ์การเรียนรู้ในห้อง ผ่าตัด ในขณะที่นักศึกษามีจำนวนเพิ่มมากขึ้นแต่แหล่งฝึกมีจำกัด
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม
ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล
Kieratikan Payngulume
Sriwiengkaew Tengkiattrakul
format Article
author กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม
ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล
Kieratikan Payngulume
Sriwiengkaew Tengkiattrakul
author_sort กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม
title ผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสมต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดของนักศึกษาพยาบาล
title_short ผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสมต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดของนักศึกษาพยาบาล
title_full ผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสมต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดของนักศึกษาพยาบาล
title_fullStr ผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสมต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดของนักศึกษาพยาบาล
title_full_unstemmed ผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสมต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดของนักศึกษาพยาบาล
title_sort ผลของการประยุกต์ใช้สื่อประสมต่อความคาดหวังและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในห้องผ่าตัดของนักศึกษาพยาบาล
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52548
_version_ 1763497962134044672