ประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดใน การลดความวิตกกังวลและส่งเสริมการตอบสนองทางสรีระโดยการลดอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันโลหิต เพิ่มความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่มีภาวะ การหายใจล้มเหลวที่ใช้เครื่องช่วยหายใจโดยศึกษาในผู้ป่วยที่ใช้เ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุมลชาติ ดวงบุบผา, สมจิต หนุเจริญกุล, ชาญ เกียรติบุญศรี, Sumolchat Duangbubpha, Somchit Hanucharurnkul, Charn Kiatboonsri
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52603
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.52603
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความวิตกกังวล
ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ดนตรีบำบัด
การตอบสนองทางสรีระ
ความจุปอด
Anxiety
Mechanically ventilated patients
Music therapy
Physiological responses
Vital capacity
spellingShingle ความวิตกกังวล
ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ดนตรีบำบัด
การตอบสนองทางสรีระ
ความจุปอด
Anxiety
Mechanically ventilated patients
Music therapy
Physiological responses
Vital capacity
สุมลชาติ ดวงบุบผา
สมจิต หนุเจริญกุล
ชาญ เกียรติบุญศรี
Sumolchat Duangbubpha
Somchit Hanucharurnkul
Charn Kiatboonsri
ประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
description การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดใน การลดความวิตกกังวลและส่งเสริมการตอบสนองทางสรีระโดยการลดอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันโลหิต เพิ่มความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่มีภาวะ การหายใจล้มเหลวที่ใช้เครื่องช่วยหายใจโดยศึกษาในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจที่หอผู้ป่วย วิกฤตทางอายุรกรรม หอผู้ป่วยวิกฤตโรคหัวใจ และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรมชาย-หญิง 1 โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2543 ถึงเดือน มกราคม พ.ศ. 2544 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 30 ราย กลุ่ม ตัวอย่างทุกรายได้รับการประเมินความสนใจในการฟังดนตรีและเป็นผู้เลือกฟังเสียงดนตรี ธรรมชาติที่จัดไว้ ในระยะทดลองกลุ่มตัวอย่างฟังดนตรีที่ได้เลือกด้วยตนเองทางเครื่องหูฟังเป็นเวลา 30 นาที สำหรับระยะควบคุมได้รับการใส่เครื่องหูฟังโดยไม่มีเสียงดนตรีเป็นเวลา 30 นาที โดยทั้ง 2 ระยะ ได้จัดให้ผู้ป่วยนอนพักในท่าศีรษะสูงและกั้นม่านพร้อมแขวนป้ายห้ามรบกวน ผลการ วิจัยพบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับการฟังดนตรีบำบัดขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ มีระดับความวิตกกังวล อัตรา การเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันเลือดซิสโตลิกและความดันเลือดแดงเฉลี่ยลดลงมากกว่า ระยะควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ รวมทั้งมีค่าความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนเพิ่มขึ้น มากกว่าระยะควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับความดันเลือดไดแอสโตลิกในระยะทดลอง และระยะควบคุมไม่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จึงสรุปว่าดนตรีบำบัดเป็น วิธีการที่ทำได้ง่าย ลงทุนต่ำและมีประสิทธิภาพในการลดความวิตกกังวล และส่งเสริมการผ่อนคลายใน ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
สุมลชาติ ดวงบุบผา
สมจิต หนุเจริญกุล
ชาญ เกียรติบุญศรี
Sumolchat Duangbubpha
Somchit Hanucharurnkul
Charn Kiatboonsri
format Article
author สุมลชาติ ดวงบุบผา
สมจิต หนุเจริญกุล
ชาญ เกียรติบุญศรี
Sumolchat Duangbubpha
Somchit Hanucharurnkul
Charn Kiatboonsri
author_sort สุมลชาติ ดวงบุบผา
title ประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_short ประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_full ประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_fullStr ประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_full_unstemmed ประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_sort ประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52603
_version_ 1763497923843194880
spelling th-mahidol.526032023-03-30T23:11:31Z ประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ Effectiveness of Music Therapy on Anxiety, Physiological Responses, Vital Capacity, and Oxygen Saturation in Mechanically Ventilated Patients สุมลชาติ ดวงบุบผา สมจิต หนุเจริญกุล ชาญ เกียรติบุญศรี Sumolchat Duangbubpha Somchit Hanucharurnkul Charn Kiatboonsri มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์ ความวิตกกังวล ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ดนตรีบำบัด การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอด Anxiety Mechanically ventilated patients Music therapy Physiological responses Vital capacity การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของดนตรีบำบัดใน การลดความวิตกกังวลและส่งเสริมการตอบสนองทางสรีระโดยการลดอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันโลหิต เพิ่มความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่มีภาวะ การหายใจล้มเหลวที่ใช้เครื่องช่วยหายใจโดยศึกษาในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจที่หอผู้ป่วย วิกฤตทางอายุรกรรม หอผู้ป่วยวิกฤตโรคหัวใจ และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรมชาย-หญิง 1 โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2543 ถึงเดือน มกราคม พ.ศ. 2544 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 30 ราย กลุ่ม ตัวอย่างทุกรายได้รับการประเมินความสนใจในการฟังดนตรีและเป็นผู้เลือกฟังเสียงดนตรี ธรรมชาติที่จัดไว้ ในระยะทดลองกลุ่มตัวอย่างฟังดนตรีที่ได้เลือกด้วยตนเองทางเครื่องหูฟังเป็นเวลา 30 นาที สำหรับระยะควบคุมได้รับการใส่เครื่องหูฟังโดยไม่มีเสียงดนตรีเป็นเวลา 30 นาที โดยทั้ง 2 ระยะ ได้จัดให้ผู้ป่วยนอนพักในท่าศีรษะสูงและกั้นม่านพร้อมแขวนป้ายห้ามรบกวน ผลการ วิจัยพบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับการฟังดนตรีบำบัดขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ มีระดับความวิตกกังวล อัตรา การเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันเลือดซิสโตลิกและความดันเลือดแดงเฉลี่ยลดลงมากกว่า ระยะควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ รวมทั้งมีค่าความจุปอดและความอิ่มตัวของออกซิเจนเพิ่มขึ้น มากกว่าระยะควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับความดันเลือดไดแอสโตลิกในระยะทดลอง และระยะควบคุมไม่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จึงสรุปว่าดนตรีบำบัดเป็น วิธีการที่ทำได้ง่าย ลงทุนต่ำและมีประสิทธิภาพในการลดความวิตกกังวล และส่งเสริมการผ่อนคลายใน ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ This experimental research was designed to test the effectiveness of music therapy in reducing anxiety levels, promoting physiological responses by decreasing heart rate, respiratory rate, blood pressure, and increasing oxygen saturation and vital capacity in patients with respiratory failure using a mechanical ventilator. The sample consisted of thirty patients receiving mechanical ventilation. The study was conducted from July 2000 to January 2001 in three settings: the medical intensive care unit, the coronary care unit, and the intermediate care unit, Department of Medicine, Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital, Bangkok, Thailand. Subjects were purposively selected according to pre-determined criteria. A change-over design was used in this research study to compare the changes in anxiety level, vital capacity, physiological responses, and oxygen saturation among the same patients during two periods: the music therapy and no music therapy period. Subjects assessed their music preference and received a chance to select natural music from the collection. In the experimental period, the subjects listened to their chosen music through headphones via portable compact disk player for 30 minutes while receiving mechanical ventilation. In the control period, all subjects received no music therapy, but silent headphones were put on. The results of the study indicate that during the music therapy period, anxiety level, heart rate, respiratory rate, and mean arterial pressure and systolic blood pressure of the subjects decreased significantly more than in the control period. Vital capacity and oxygen saturation of the subjects during the music therapy period increased significantly more than in the control period. There was no statistically significant difference in the change in diastolic blood pressure between the music therapy and the no music therapy period. The application of music therapy is convenient and inexpensive for patients receiving mechanical ventilation. Music therapy provides an effective and inexpensive means for anxiety reduction and promotes relaxation in mechanically ventilated patients. 2020-02-27T08:24:53Z 2020-02-27T08:24:53Z 2563-02-27 2551 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2551), 312-327 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52603 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf