การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนเมืองภายใต้มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ

วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเข้าถึงบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพภายใต้มาตรฐาน การจัดระบบบริการปฐมภูมิในการประกันสุขภาพถ้วนหน้าระหว่างประชากรทั่วไปและลูกจ้างประจำ ของรัฐ รูปแบบการศึกษาเป็นการศึกษาวิจัยจากข้อมูลย้อนหลังจากรายงานการศึกษาเชิงสำรวจของนักศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ภาควิชาพยาบาล...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุพรรณี ธรากุล, อัญชลี นวลคล้าย, กรรณิการ์ คงทอง, กานต์ ฉลาดธัญญกิจ, Supunnee Thrakul, Anchalee Naulclai, Kannika Kongtong, Karn Chaladthanyagid
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52608
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.52608
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การสร้างเสริมสุขภาพ
มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ
ชุมชนเมือง
Health promotion
Standards of primary care system
Urban community
spellingShingle การสร้างเสริมสุขภาพ
มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ
ชุมชนเมือง
Health promotion
Standards of primary care system
Urban community
สุพรรณี ธรากุล
อัญชลี นวลคล้าย
กรรณิการ์ คงทอง
กานต์ ฉลาดธัญญกิจ
Supunnee Thrakul
Anchalee Naulclai
Kannika Kongtong
Karn Chaladthanyagid
การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนเมืองภายใต้มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ
description วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเข้าถึงบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพภายใต้มาตรฐาน การจัดระบบบริการปฐมภูมิในการประกันสุขภาพถ้วนหน้าระหว่างประชากรทั่วไปและลูกจ้างประจำ ของรัฐ รูปแบบการศึกษาเป็นการศึกษาวิจัยจากข้อมูลย้อนหลังจากรายงานการศึกษาเชิงสำรวจของนักศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจำนวน 127 คน ด้วยแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ประชากรทั่วไปในชุมชนประดิษฐ์โทรการ (พหลโยธิน 47-49) ซึ่งส่วนใหญ่ ใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (เดิมเรียกว่า “บัตรทอง หรือบัตร 30 บาท”) และ (2) ประชากร ซึ่งส่วนใหญ่เป็นลูกจ้างประจำของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชุมชนพหลโยธิน 45 ใช้สิทธิสวัสดิการ รักษาพยาบาลโดยเบิกได้จากหน่วยงานรัฐ ซึ่งเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ตัวแปรที่ใช้ศึกษา คือ เกณฑ์ประเมินผลการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพในโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค ซึ่งประกอบด้วย การได้รับคำแนะนำในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ การได้รับบริการเชิงรุกจากเจ้าหน้าที่ การมีความรู้พื้นฐานใน การดูแลตนเอง การมีทักษะพื้นฐานในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการได้รับการคัดกรองโรค ทำการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนประดิษฐ์โทรการ (พหลโยธิน 47-49) ได้รับคำแนะนำในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ เรื่องการกินอาหารที่พอเหมาะมาก ที่สุดถึงร้อยละ 73.1 ส่วนชุมชนพหลโยธิน 45 เป็นเรื่องการออกกำลังกายที่เหมาะสมมากที่สุดถึง ร้อยละ 63.3 และทั้งสองกลุ่มได้รับบริการเชิงรุกจากเจ้าหน้าที่ในการสนับสนุนการพึ่งตนเองมากที่สุด ร้อยละ 83.6 และ 61.7 การมีความรู้พื้นฐานในการดูแลตนเองเมื่อเป็นไข้เป็นหวัดสูงถึงร้อยละ 89.6 และ 70.0 การมีทักษะพื้นฐานในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อมีเลือดกำเดาออกร้อยละ 79.1 และ 53.3 และการได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 59.7 และ 36.7 และโรค เบาหวานร้อยละ 38.8 และ 35.0 ตามลำดับ การได้รับบริการเชิงรุกจากเจ้าหน้าที่และการมีทักษะพื้นฐานในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น รวมทั้งการได้รับการคัดกรองโรคของทั้งสองกลุ่มมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยสรุป มาตรฐานการ จัดระบบบริการปฐมภูมิในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถช่วยเพิ่มการเข้าถึงบริการด้านการ ส่งเสริมสุขภาพได้ พยาบาลชุมชนเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนซึ่งจะ นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
สุพรรณี ธรากุล
อัญชลี นวลคล้าย
กรรณิการ์ คงทอง
กานต์ ฉลาดธัญญกิจ
Supunnee Thrakul
Anchalee Naulclai
Kannika Kongtong
Karn Chaladthanyagid
format Article
author สุพรรณี ธรากุล
อัญชลี นวลคล้าย
กรรณิการ์ คงทอง
กานต์ ฉลาดธัญญกิจ
Supunnee Thrakul
Anchalee Naulclai
Kannika Kongtong
Karn Chaladthanyagid
author_sort สุพรรณี ธรากุล
title การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนเมืองภายใต้มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ
title_short การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนเมืองภายใต้มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ
title_full การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนเมืองภายใต้มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ
title_fullStr การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนเมืองภายใต้มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ
title_full_unstemmed การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนเมืองภายใต้มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ
title_sort การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนเมืองภายใต้มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52608
_version_ 1763493302119694336
spelling th-mahidol.526082023-03-31T02:55:16Z การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนเมืองภายใต้มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ Health Promotion in Urban Community under the Standards of Primary Care System สุพรรณี ธรากุล อัญชลี นวลคล้าย กรรณิการ์ คงทอง กานต์ ฉลาดธัญญกิจ Supunnee Thrakul Anchalee Naulclai Kannika Kongtong Karn Chaladthanyagid มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ การสร้างเสริมสุขภาพ มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ ชุมชนเมือง Health promotion Standards of primary care system Urban community วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเข้าถึงบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพภายใต้มาตรฐาน การจัดระบบบริการปฐมภูมิในการประกันสุขภาพถ้วนหน้าระหว่างประชากรทั่วไปและลูกจ้างประจำ ของรัฐ รูปแบบการศึกษาเป็นการศึกษาวิจัยจากข้อมูลย้อนหลังจากรายงานการศึกษาเชิงสำรวจของนักศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจำนวน 127 คน ด้วยแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ประชากรทั่วไปในชุมชนประดิษฐ์โทรการ (พหลโยธิน 47-49) ซึ่งส่วนใหญ่ ใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (เดิมเรียกว่า “บัตรทอง หรือบัตร 30 บาท”) และ (2) ประชากร ซึ่งส่วนใหญ่เป็นลูกจ้างประจำของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชุมชนพหลโยธิน 45 ใช้สิทธิสวัสดิการ รักษาพยาบาลโดยเบิกได้จากหน่วยงานรัฐ ซึ่งเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ตัวแปรที่ใช้ศึกษา คือ เกณฑ์ประเมินผลการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพในโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค ซึ่งประกอบด้วย การได้รับคำแนะนำในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ การได้รับบริการเชิงรุกจากเจ้าหน้าที่ การมีความรู้พื้นฐานใน การดูแลตนเอง การมีทักษะพื้นฐานในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการได้รับการคัดกรองโรค ทำการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนประดิษฐ์โทรการ (พหลโยธิน 47-49) ได้รับคำแนะนำในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ เรื่องการกินอาหารที่พอเหมาะมาก ที่สุดถึงร้อยละ 73.1 ส่วนชุมชนพหลโยธิน 45 เป็นเรื่องการออกกำลังกายที่เหมาะสมมากที่สุดถึง ร้อยละ 63.3 และทั้งสองกลุ่มได้รับบริการเชิงรุกจากเจ้าหน้าที่ในการสนับสนุนการพึ่งตนเองมากที่สุด ร้อยละ 83.6 และ 61.7 การมีความรู้พื้นฐานในการดูแลตนเองเมื่อเป็นไข้เป็นหวัดสูงถึงร้อยละ 89.6 และ 70.0 การมีทักษะพื้นฐานในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อมีเลือดกำเดาออกร้อยละ 79.1 และ 53.3 และการได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 59.7 และ 36.7 และโรค เบาหวานร้อยละ 38.8 และ 35.0 ตามลำดับ การได้รับบริการเชิงรุกจากเจ้าหน้าที่และการมีทักษะพื้นฐานในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น รวมทั้งการได้รับการคัดกรองโรคของทั้งสองกลุ่มมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยสรุป มาตรฐานการ จัดระบบบริการปฐมภูมิในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถช่วยเพิ่มการเข้าถึงบริการด้านการ ส่งเสริมสุขภาพได้ พยาบาลชุมชนเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนซึ่งจะ นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี The objective of this retrospective study was to compare the access to health care in the urban community under the standards of primary care system in the health insurance project. The population was people aged 15 years and older who registered in the health insurance project and used the Universal Health Care Coverage Scheme for the treatment at the specified health care centers. The sample was selected by simple random sampling and divided into two groups: 1) Pradit- Thorakarn community and 2) Soi Phaholyothin 45 community with health benefits for government workers. The data were collected in January 2003. The variables for comparing the access to health promotion included health education, service activities outside health centers, basic knowledge for self care, basic skills for emergency care and screening. One hundred and twenty-seven participants were interviewed using questionnaires. Data analysis was performed in descriptive statistics and tested the difference by the Chi-square. Findings showed that there were 67 and 60 subjects for the first and second groups, respectively. The first group (73.1%) had been educated for health promotion about appropriate eating but the second group (63.3%) had appropriate exercise. Both groups had support from health care providers for primary health care (83.6% and 61.7%), gained basic knowledge for self care when getting fever and common cold (89.6% and 70.0%), had basic skills for emergency care when experiencing epistaxis (79.1% and 53.3%), and had screening for hypertension (59.7% and 36.7%) and diabetes (38.8% and 35.0%), respectively. The difference between both groups in support from health care providers in primary health care, basic skills for emergency care, and screening was statistically significant. The results of the study suggested that the standards of primary care system in the health insurance project could improve the increase of the access to health promotion and community nurses play an important role for health promotion programs that lead to a good quality of life. 2020-02-27T08:58:19Z 2020-02-27T08:58:19Z 2563-02-27 2551 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2551), 417-430 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52608 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf