การวัดระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับทัศนคติ ระดับการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการประกันคุณภาพของบุคลากรพร้อมทั้งเปรียบเทียบระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมของบุคลากร เกี่ยวกับประกันคุณภาพคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) รวบรวมข้อมูลโดยใช้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุพัตรา ชาวสวน, Supattra Chowsuan
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54037
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.54037
record_format dspace
spelling th-mahidol.540372023-03-31T05:59:39Z การวัดระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Attitude and Participation Level Measurement of Personel toward Quality Assurance of Faculty of Veterinary Science, Mahidol University. สุพัตรา ชาวสวน Supattra Chowsuan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์ ทัศนคติ การมีส่วนร่วม การประกันคุณภาพ Attitude Participation Quality Assurance Journal of Applied Animal Science การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับทัศนคติ ระดับการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการประกันคุณภาพของบุคลากรพร้อมทั้งเปรียบเทียบระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมของบุคลากร เกี่ยวกับประกันคุณภาพคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งระดับความเชื่อมั่น 95% จากจำนวนบุคลากร 123 คน ซึ่งผลการวิจัย พบว่า (1) การวัดระดับทัศนคติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทั้ง 4 ด้าน มีระดับทัศนคติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยรวม ( x̄ ) เท่ากับ 3.23 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.784 (2) การวัดระดับการมีส่วนร่วมการประกันคุณภาพทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยรวม ( x̄ ) เท่ากับ 3.03 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม (S.D.) เท่ากับ 0.743 (3) การเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับทัศนคติทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเอาใจใส่ (attention) มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านหน่วยงานและระยะเวลาการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน ด้านความเข้าใจ (comprehension)และด้านการคงอยู่ (retention) มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านหน่วยงานที่แตกต่างกัน และด้านการยอมรับ (acceptance) มีปัจจัยส่วนบุคคลไม่แตกต่างกันทางสถิติ (4) การเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับการมีส่วนร่วม ทั้ง 4 ด้าน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านหน่วยงานส่งผลให้การมีส่วนร่วมในด้านการวางแผน (Plan (P)) ด้านการดำเนินงาน (Do (D)) และด้านการตรวจสอบผลการดำเนินงาน (Check (C)) แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านระยะการปฏิบัติงานส่งผลให้ด้านการดำเนินงาน(Do (D)) ด้านการตรวจสอบผลการดำเนินงาน (Check (C))และด้านการปรับปรุงการดำเนินงาน (Act(A)) มีความแตกต่างกัน ส่วนปัจจัยอื่นๆ ไม่ส่งผลต่อระดับการมีส่วนร่วม The objectives of this study were to study the level of attitude, the level of participation of personal in internal quality assurance, and the level of attitude and to compare of personnel participation in the Veterinary Medicine of Mahidol University. This study was a survey research. The questionnaires were used for data collecting which 123 persons in Faculty of Veterinary Medicine of Mahidol University were the sample. 1) the result of study showed that the four attitude sides about quality assurance were in the middle level at 3.23 by everage and 0.784 was standard deviation (S.D.) 2)The participation level in four sides of quality assurance were in the middle level at 3.03 by everage and 0.743 was standard deviation (S.D.) 3) The comparision of diference in four sides of attitude level (attention, comprehension, acceptance and retention) found that the persons in different department had significant effect on level of attitudes. Moreover, the work period had significant effects on level of attention. 4) The comparision of difference of participation level in four aspects were found that the different departments of persons had effect on participation in quality assurance significantly in aspects of Plan (P), Do (D) and Check (C). In addition, the work periods of persons had effect on participation in quality assurance significantly in aspects of Do (D), Check (C) and Action (A). 2020-04-08T07:39:04Z 2020-04-08T07:39:04Z 2563-04-08 2562 Research Article Journal of Applied Animal Science. ปีที่ 12, ฉบับที่ 2 (พ.ค. -ส.ค. 2562), 33-42 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54037 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ทัศนคติ
การมีส่วนร่วม
การประกันคุณภาพ
Attitude
Participation
Quality Assurance
Journal of Applied Animal Science
spellingShingle ทัศนคติ
การมีส่วนร่วม
การประกันคุณภาพ
Attitude
Participation
Quality Assurance
Journal of Applied Animal Science
สุพัตรา ชาวสวน
Supattra Chowsuan
การวัดระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
description การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับทัศนคติ ระดับการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการประกันคุณภาพของบุคลากรพร้อมทั้งเปรียบเทียบระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมของบุคลากร เกี่ยวกับประกันคุณภาพคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งระดับความเชื่อมั่น 95% จากจำนวนบุคลากร 123 คน ซึ่งผลการวิจัย พบว่า (1) การวัดระดับทัศนคติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทั้ง 4 ด้าน มีระดับทัศนคติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยรวม ( x̄ ) เท่ากับ 3.23 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.784 (2) การวัดระดับการมีส่วนร่วมการประกันคุณภาพทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยรวม ( x̄ ) เท่ากับ 3.03 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม (S.D.) เท่ากับ 0.743 (3) การเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับทัศนคติทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเอาใจใส่ (attention) มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านหน่วยงานและระยะเวลาการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน ด้านความเข้าใจ (comprehension)และด้านการคงอยู่ (retention) มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านหน่วยงานที่แตกต่างกัน และด้านการยอมรับ (acceptance) มีปัจจัยส่วนบุคคลไม่แตกต่างกันทางสถิติ (4) การเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับการมีส่วนร่วม ทั้ง 4 ด้าน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านหน่วยงานส่งผลให้การมีส่วนร่วมในด้านการวางแผน (Plan (P)) ด้านการดำเนินงาน (Do (D)) และด้านการตรวจสอบผลการดำเนินงาน (Check (C)) แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านระยะการปฏิบัติงานส่งผลให้ด้านการดำเนินงาน(Do (D)) ด้านการตรวจสอบผลการดำเนินงาน (Check (C))และด้านการปรับปรุงการดำเนินงาน (Act(A)) มีความแตกต่างกัน ส่วนปัจจัยอื่นๆ ไม่ส่งผลต่อระดับการมีส่วนร่วม
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์
สุพัตรา ชาวสวน
Supattra Chowsuan
format Article
author สุพัตรา ชาวสวน
Supattra Chowsuan
author_sort สุพัตรา ชาวสวน
title การวัดระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_short การวัดระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full การวัดระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_fullStr การวัดระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full_unstemmed การวัดระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_sort การวัดระดับทัศนคติและระดับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54037
_version_ 1763496613696765952