วิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง เพื่อพิจารณาความชัดเจนในการนำกฎหมายไปปฏิบัติให้ความคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง และเพื่อเสนอแนะในการปรับปรุงกฎหมายให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยทำการศึกษาเอกสารกฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำง...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ประมุข โอศิริ, Pramuk Osiri
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54082
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.54082
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
แสงสว่าง
แสงจ้า
เสียง
การอนุรักษ์การได้ยิน
แผนผังระดับเสียง
work environment regulation
illumination
glare
noise
hearing conservation
noise contour
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
spellingShingle กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
แสงสว่าง
แสงจ้า
เสียง
การอนุรักษ์การได้ยิน
แผนผังระดับเสียง
work environment regulation
illumination
glare
noise
hearing conservation
noise contour
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
ประมุข โอศิริ
Pramuk Osiri,
วิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง
description การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง เพื่อพิจารณาความชัดเจนในการนำกฎหมายไปปฏิบัติให้ความคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง และเพื่อเสนอแนะในการปรับปรุงกฎหมายให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยทำการศึกษาเอกสารกฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ของกระทรวงแรงงาน คือ กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559 และประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานที่เกี่ยวข้องกับกฎกระทรวงแรงงาน วิธีการวิเคราะห์ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในเอกสารกฎกระทรวงและกฎหมายที่นำมาศึกษาครั้งนี้ โดยมีเกณฑ์พิจารณาจากความชัดเจนของข้อกำหนดที่ทำให้ผู้เกี่ยวข้อง สามารถนำไปปฏิบัติได้ ประเด็นที่กฎหมายยังระบุไม่ชัดเจนเพียงพอต่อการนำไปปฏิบัติมี 5 ประเด็นคือ (1) การกำหนดเรื่องแสงจ้าไม่มีความชัดเจน ขอเสนอให้มีรายละเอียดมากขึ้นในการกำหนดว่าแสงจ้าประเภทใดที่ห้ามไม่ให้มีในสถานประกอบกิจการ (2) ไม่มีนิยามของระดับเสียงสูงสุด เสียงกระแทกกับระดับเสียงดังต่อเนื่อง จึงไม่สามารถจำแนกชนิดของเสียงในที่ทำงานเพื่อเปรียบเทียบกับกฎหมาย จึงเสนอให้มีการทบทวนเพิ่มเติมนิยาม (3) ตรวจสอบกฎหมายเรื่องการตรวจสุขภาพที่อ้างอิงถึงพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 ไม่พบเรื่องการตรวจสุขภาพตามที่อ้างถึง เสนอให้แก้ไขในสิ่งที่อ้างถึง (4) การกำหนดมาตรฐานความเข้มของแสงสว่างขั้นต่ำ กฎหมายกำหนดเป็นช่วง เสนอให้แก้ไขมาตรฐานความเข้มของแสงสว่างขั้นต่ำให้เป็นค่ามาตรฐานตัวเลขเดียว ไม่เป็นช่วง รวมถึงทบทวนวิธีการวัดระดับแสงโดยวางหัววัดแสงบนทางเดิน (5) เรื่องการอนุรักษ์การได้ยิน ไม่ได้ระบุเรื่องปริมาณเสียงสะสมมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดให้มีมาตรการอนุรรักษ์การได้ยิน เสนอให้พิจารณาเรื่องปริมาณเสียงสะสม เมื่อลูกจ้างได้รับปริมาณเสียงสะสมร้อยละ 100 (100%dose) นายจ้างต้องดำเนินการมาตรการอนุรักษ์การได้ยิน และที่สำคัญคือเสนอให้ยกเลิกบังคับการจัดทำแผนผังแสดงระดับเสียง เนื่องจากมีงานหลายประเภทไม่สามารถจัดทำได้ รวมถึงเสนอให้แก้ไขการบันทึกข้อมูลและจัดทำเอกสารการดำเนินการเรื่องมาตรการอนุรักษ์การได้ยินไว้ในสถานประกอบกิจการไม่น้อยกว่าห้าปี เพื่อแก้ไขให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงแรงงาน กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสุขภาพของลูกจ้างฯ พ.ศ. 2547 ให้นายจ้างเก็บบันทึกผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง ไม่น้อยกว่าสองปีนับแต่วันสิ้นสุดของการจ้างแต่ละราย
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ประมุข โอศิริ
Pramuk Osiri,
format Article
author ประมุข โอศิริ
Pramuk Osiri,
author_sort ประมุข โอศิริ
title วิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง
title_short วิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง
title_full วิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง
title_fullStr วิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง
title_full_unstemmed วิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง
title_sort วิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54082
_version_ 1763496371261800448
spelling th-mahidol.540822023-03-31T04:56:37Z วิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง Analysis of Work Environment Regulations on Illumination and Noise ประมุข โอศิริ Pramuk Osiri, มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน แสงสว่าง แสงจ้า เสียง การอนุรักษ์การได้ยิน แผนผังระดับเสียง work environment regulation illumination glare noise hearing conservation noise contour วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง แสงสว่าง และเสียง เพื่อพิจารณาความชัดเจนในการนำกฎหมายไปปฏิบัติให้ความคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง และเพื่อเสนอแนะในการปรับปรุงกฎหมายให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยทำการศึกษาเอกสารกฎหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ของกระทรวงแรงงาน คือ กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559 และประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานที่เกี่ยวข้องกับกฎกระทรวงแรงงาน วิธีการวิเคราะห์ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในเอกสารกฎกระทรวงและกฎหมายที่นำมาศึกษาครั้งนี้ โดยมีเกณฑ์พิจารณาจากความชัดเจนของข้อกำหนดที่ทำให้ผู้เกี่ยวข้อง สามารถนำไปปฏิบัติได้ ประเด็นที่กฎหมายยังระบุไม่ชัดเจนเพียงพอต่อการนำไปปฏิบัติมี 5 ประเด็นคือ (1) การกำหนดเรื่องแสงจ้าไม่มีความชัดเจน ขอเสนอให้มีรายละเอียดมากขึ้นในการกำหนดว่าแสงจ้าประเภทใดที่ห้ามไม่ให้มีในสถานประกอบกิจการ (2) ไม่มีนิยามของระดับเสียงสูงสุด เสียงกระแทกกับระดับเสียงดังต่อเนื่อง จึงไม่สามารถจำแนกชนิดของเสียงในที่ทำงานเพื่อเปรียบเทียบกับกฎหมาย จึงเสนอให้มีการทบทวนเพิ่มเติมนิยาม (3) ตรวจสอบกฎหมายเรื่องการตรวจสุขภาพที่อ้างอิงถึงพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 ไม่พบเรื่องการตรวจสุขภาพตามที่อ้างถึง เสนอให้แก้ไขในสิ่งที่อ้างถึง (4) การกำหนดมาตรฐานความเข้มของแสงสว่างขั้นต่ำ กฎหมายกำหนดเป็นช่วง เสนอให้แก้ไขมาตรฐานความเข้มของแสงสว่างขั้นต่ำให้เป็นค่ามาตรฐานตัวเลขเดียว ไม่เป็นช่วง รวมถึงทบทวนวิธีการวัดระดับแสงโดยวางหัววัดแสงบนทางเดิน (5) เรื่องการอนุรักษ์การได้ยิน ไม่ได้ระบุเรื่องปริมาณเสียงสะสมมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดให้มีมาตรการอนุรรักษ์การได้ยิน เสนอให้พิจารณาเรื่องปริมาณเสียงสะสม เมื่อลูกจ้างได้รับปริมาณเสียงสะสมร้อยละ 100 (100%dose) นายจ้างต้องดำเนินการมาตรการอนุรักษ์การได้ยิน และที่สำคัญคือเสนอให้ยกเลิกบังคับการจัดทำแผนผังแสดงระดับเสียง เนื่องจากมีงานหลายประเภทไม่สามารถจัดทำได้ รวมถึงเสนอให้แก้ไขการบันทึกข้อมูลและจัดทำเอกสารการดำเนินการเรื่องมาตรการอนุรักษ์การได้ยินไว้ในสถานประกอบกิจการไม่น้อยกว่าห้าปี เพื่อแก้ไขให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงแรงงาน กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสุขภาพของลูกจ้างฯ พ.ศ. 2547 ให้นายจ้างเก็บบันทึกผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง ไม่น้อยกว่าสองปีนับแต่วันสิ้นสุดของการจ้างแต่ละราย This research aimed to analyze the ministerial regulations and the notifications of the Department of Labor Protection and Welfare for work environments; heat, illumination and noise. Using content analysis method for extra the laws content. The results of study revealed that the laws are not practical in the areas of; (1) the definition of glare should be more detailed for not allowing glare hazard, (2) no definition of peak noise, impact noise, and continuous steady state noise – so these noises could not be classified to comply with the regulations. The regulation should have a definition of peak noise, impact noise, and continuous steady state noise, (3) no statement of health examination in the Occupation Safety and Health Act 2011. The Act should be reviewed to add the health examination provision for employees, (4) minimum illumination standards are in the range of lux. The minimum illumination standards should be corrected from a range lux to minimum one value of lux, (5) noise dose is not a required parameter to provide hearing conservation program. The exposure of 100% of noise dose should be enrolled in noise hearing conservation program. This should be added on the regulation requirement. The noise contour map requirement should be canceled because it is not practical for many work processes. The notification of noise hearing conservation program of the department of labour and welfare requires to keep the documentation of noise hearing conversation program for five years which against the mandatory of the ministerial regulation of health examination 2004. It states that employer shall keep the health examination records and related information in the workplace for not less than two years after the termination of employment. 2020-04-15T05:14:53Z 2020-04-15T05:14:53Z 2563-04-15 2562 Research Article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 5, ฉบับที่ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2562), 151-164 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54082 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf