ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมให้ข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัดแบบผู้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พิจิตรา เล็กดําารงกุล, คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, นพดล ศิริธนารัตนกุล, ศิวพร ศิริภูล, เพ็ญใจ จิตรนําาทรัพย์, Pichitra Lekdamrongkul, Kanaungnit Pongthavornkamol, Siritanaratkul Siritanaratkul, Siwaporn Siripoon, Penjai Jitnumsub
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54242
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.54242
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความวิตกกังวล
เคมีบำบัด
ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัย
ภาวะการทำหน้าที่
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
anxiety
chemotherapy
concrete-objective information
functional status
lymphoma
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
spellingShingle ความวิตกกังวล
เคมีบำบัด
ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัย
ภาวะการทำหน้าที่
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
anxiety
chemotherapy
concrete-objective information
functional status
lymphoma
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
พิจิตรา เล็กดําารงกุล
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
นพดล ศิริธนารัตนกุล
ศิวพร ศิริภูล
เพ็ญใจ จิตรนําาทรัพย์
Pichitra Lekdamrongkul
Kanaungnit Pongthavornkamol
Siritanaratkul Siritanaratkul
Siwaporn Siripoon
Penjai Jitnumsub
ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมให้ข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัดแบบผู้ป่วยในจำนวน 68 ราย ได้รับการจัดเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 34 รายโดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัย ประกอบด้วย ดีวีดีการ์ตูนแอนนิเมชั่น หนังสือคู่มือ และคำแนะนำและกระตุ้นการปฏิบัติทางโทรศัพท์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูล 3 ช่วงเวลา: ก่อนเริ่มต้นโปรแกรม (วัดครั้งที่ 1) 2 สัปดาห์และ 6 เดือนหลังเข้าร่วมโปรแกรม (วัดครั้งที่ 2 และ 3 ตามลำดับ) เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความวิตกกังวลขณะเผชิญ และแบบประเมินภาวะการทำหน้าที่ของร่างกาย วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ one-way repeated measures ANOVA and repeated measures ANCOVA test ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีแนวโน้มของค่าคะแนนความวิตกกังวลลดลงและคะแนนภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายสูงกว่ากลุ่มควบคุมในช่วงเวลา 2 สัปดาห์ ผลความแตกต่างนี้พบมีนัยสำคัญทางสถิติที่ช่วงระยะเวลา 6 เดือนหลังได้รับโปรแกรม สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาวิจัยสนับสนุนว่าโปรแกรมข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยร่วมกับคำแนะนำและกระตุ้นทางโทรศัพท์อย่างเพียงพอมีประสิทธิผลต่อการลดความวิตกกังวลและธำรงภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองระหว่างการรักษา พยาบาลควรนำรูปแบบการให้ข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยไปใช้ในการเตรียมผู้ป่วยมะเร็งระบบโลหิตวิทยาให้สามารถเผชิญความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพในระหว่างและภายหลังได้รับยาเคมีบำบัด
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
พิจิตรา เล็กดําารงกุล
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
นพดล ศิริธนารัตนกุล
ศิวพร ศิริภูล
เพ็ญใจ จิตรนําาทรัพย์
Pichitra Lekdamrongkul
Kanaungnit Pongthavornkamol
Siritanaratkul Siritanaratkul
Siwaporn Siripoon
Penjai Jitnumsub
format Article
author พิจิตรา เล็กดําารงกุล
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
นพดล ศิริธนารัตนกุล
ศิวพร ศิริภูล
เพ็ญใจ จิตรนําาทรัพย์
Pichitra Lekdamrongkul
Kanaungnit Pongthavornkamol
Siritanaratkul Siritanaratkul
Siwaporn Siripoon
Penjai Jitnumsub
author_sort พิจิตรา เล็กดําารงกุล
title ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_short ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_full ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_fullStr ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_sort ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54242
_version_ 1763488891509145600
spelling th-mahidol.542422023-03-31T07:27:37Z ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด The Effects of Concrete-objective Information Program on Anxiety and Functional Status among Lymphoma Patients Receiving Chemotherapy พิจิตรา เล็กดําารงกุล คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล นพดล ศิริธนารัตนกุล ศิวพร ศิริภูล เพ็ญใจ จิตรนําาทรัพย์ Pichitra Lekdamrongkul Kanaungnit Pongthavornkamol Siritanaratkul Siritanaratkul Siwaporn Siripoon Penjai Jitnumsub มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ความวิตกกังวล เคมีบำบัด ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัย ภาวะการทำหน้าที่ มะเร็งต่อมน้ำเหลือง anxiety chemotherapy concrete-objective information functional status lymphoma วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมให้ข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัดแบบผู้ป่วยในจำนวน 68 ราย ได้รับการจัดเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 34 รายโดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัย ประกอบด้วย ดีวีดีการ์ตูนแอนนิเมชั่น หนังสือคู่มือ และคำแนะนำและกระตุ้นการปฏิบัติทางโทรศัพท์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูล 3 ช่วงเวลา: ก่อนเริ่มต้นโปรแกรม (วัดครั้งที่ 1) 2 สัปดาห์และ 6 เดือนหลังเข้าร่วมโปรแกรม (วัดครั้งที่ 2 และ 3 ตามลำดับ) เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความวิตกกังวลขณะเผชิญ และแบบประเมินภาวะการทำหน้าที่ของร่างกาย วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ one-way repeated measures ANOVA and repeated measures ANCOVA test ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีแนวโน้มของค่าคะแนนความวิตกกังวลลดลงและคะแนนภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายสูงกว่ากลุ่มควบคุมในช่วงเวลา 2 สัปดาห์ ผลความแตกต่างนี้พบมีนัยสำคัญทางสถิติที่ช่วงระยะเวลา 6 เดือนหลังได้รับโปรแกรม สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาวิจัยสนับสนุนว่าโปรแกรมข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยร่วมกับคำแนะนำและกระตุ้นทางโทรศัพท์อย่างเพียงพอมีประสิทธิผลต่อการลดความวิตกกังวลและธำรงภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองระหว่างการรักษา พยาบาลควรนำรูปแบบการให้ข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยไปใช้ในการเตรียมผู้ป่วยมะเร็งระบบโลหิตวิทยาให้สามารถเผชิญความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพในระหว่างและภายหลังได้รับยาเคมีบำบัด Purpose: To examine the effects of a concrete-objective information program on anxiety and functional status among individuals with lymphoma during and after chemotherapy. Design: Quasi-experimental design. Methods: The sample consisted of 68 lymphoma patients receiving chemotherapy; 34 participants were assigned to experimental group and the other half of participants to control group. The experimental group received a concrete-objective information program consisting of animation cartoon DVD, booklet, and telephone coaching while the control group received a usual care. Data were collected at three times: baseline prior to the intervention (T1), at two weeks and at six months after participating the program (T2 and T3 respectively). Research instruments for data collection were State-Trait Anxiety Inventory (Form Y-1) and Functional Living Index Cancer (FLIC). One-way repeated measures ANOVA and repeated measures ANCOVA test were used for data analysis. Main findings: The participants in experimental group tended to have lower anxiety scores and higher physical activity scores than those in the control group at 2 weeks, and the differences reached statistical significance at 6 months after receiving the program. Conclusion and recommendations: These findings suggested that concrete-objective information program with adequate telephone coaching could be an efficacious informational intervention for helping patients with lymphoma to improve/maintain their functional status and decrease their anxiety during cancer treatment. Nurses should provide concrete-objective information in preparing patients with hematologic cancer to cope effectively during and after chemotherapy. โครงการวิจัยได้รับทุนจากเงินกองทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2020-04-17T04:44:09Z 2020-04-17T04:44:09Z 2563-04-17 2563 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มี.ค 2563), 19-34 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54242 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf