ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจในการทำนายของ รายได้ ระดับการศึกษา ทัศนคติ การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ระยะเวลาที่ลาคลอด และชั่วโมงการทำงานต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน รูปแบบการวิจัย: การศึกษาวิจัยเชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชิดชนก พันธ์ป้อม, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, Chidchanok Phunpom, Wanna Phahuwatanakorn, Piyanun Limruangrong
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54245
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.54245
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ทัศนคติ
การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว
ระยะเวลาลาคลอด
มารดาที่ทำงานนอกบ้าน
attitute
breastfeeding support
exclusive breastfeeding
length of maternal leave
working mothers
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
spellingShingle ทัศนคติ
การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว
ระยะเวลาลาคลอด
มารดาที่ทำงานนอกบ้าน
attitute
breastfeeding support
exclusive breastfeeding
length of maternal leave
working mothers
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
ชิดชนก พันธ์ป้อม
วรรณา พาหุวัฒนกร
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
Chidchanok Phunpom
Wanna Phahuwatanakorn
Piyanun Limruangrong
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจในการทำนายของ รายได้ ระดับการศึกษา ทัศนคติ การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ระยะเวลาที่ลาคลอด และชั่วโมงการทำงานต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน รูปแบบการวิจัย: การศึกษาวิจัยเชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดที่กลับไปทำงานนอกบ้านที่มีบุตรอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี ที่มารับบริการที่คลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลสระบุรี โรงพยาบาลพระพุทธบาท และโรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช จำนวน 182 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสัมภาษณ์การให้อาหารทารก วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณาและสถิติถดถอยโลจิสติค ผลการวิจัย: รายได้ ระดับการศึกษา ทัศนคติ การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ระยะเวลาที่ลาคลอด และชั่วโมงการทำงาน สามารถร่วมกันทำนายความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ได้ร้อยละ 43.90 (R2 = .439, p < .05) แต่มีเพียง 2 ปัจจัยที่สามารถทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาที่ทำงานนอกบ้านได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ทัศนคติ (OR = 1.149, 95%CI = 1.075, 1.228, p < .001) และระยะเวลาที่ลาคลอด (OR = 2.903, 95%CI = 1.327, 6.350, p = .008) สรุปและข้อเสนอแนะ: ทัศนคติ และระยะเวลาที่ลาคลอดมีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน จึงมีข้อเสนอแนะว่า บุคลากรทางการแพทย์โดยเฉพาะพยาบาลควรมีบทบาทในการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับมารดาและครอบครัว รวมทั้งร่วมผลักดันนโยบายสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และให้มารดาหลังคลอดที่ทำงานสามารถลาคลอดได้นานกว่า 90 วัน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
ชิดชนก พันธ์ป้อม
วรรณา พาหุวัฒนกร
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
Chidchanok Phunpom
Wanna Phahuwatanakorn
Piyanun Limruangrong
format Article
author ชิดชนก พันธ์ป้อม
วรรณา พาหุวัฒนกร
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
Chidchanok Phunpom
Wanna Phahuwatanakorn
Piyanun Limruangrong
author_sort ชิดชนก พันธ์ป้อม
title ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน
title_short ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน
title_full ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน
title_fullStr ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน
title_sort ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54245
_version_ 1763497419761254400
spelling th-mahidol.542452023-03-30T19:49:09Z ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน Factors Influencing a 6 – Month Exclusive Breastfeeding Period in Working Mothers ชิดชนก พันธ์ป้อม วรรณา พาหุวัฒนกร ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง Chidchanok Phunpom Wanna Phahuwatanakorn Piyanun Limruangrong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ทัศนคติ การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ระยะเวลาลาคลอด มารดาที่ทำงานนอกบ้าน attitute breastfeeding support exclusive breastfeeding length of maternal leave working mothers วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจในการทำนายของ รายได้ ระดับการศึกษา ทัศนคติ การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ระยะเวลาที่ลาคลอด และชั่วโมงการทำงานต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน รูปแบบการวิจัย: การศึกษาวิจัยเชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดที่กลับไปทำงานนอกบ้านที่มีบุตรอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี ที่มารับบริการที่คลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลสระบุรี โรงพยาบาลพระพุทธบาท และโรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช จำนวน 182 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสัมภาษณ์การให้อาหารทารก วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณาและสถิติถดถอยโลจิสติค ผลการวิจัย: รายได้ ระดับการศึกษา ทัศนคติ การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ระยะเวลาที่ลาคลอด และชั่วโมงการทำงาน สามารถร่วมกันทำนายความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ได้ร้อยละ 43.90 (R2 = .439, p < .05) แต่มีเพียง 2 ปัจจัยที่สามารถทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาที่ทำงานนอกบ้านได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ทัศนคติ (OR = 1.149, 95%CI = 1.075, 1.228, p < .001) และระยะเวลาที่ลาคลอด (OR = 2.903, 95%CI = 1.327, 6.350, p = .008) สรุปและข้อเสนอแนะ: ทัศนคติ และระยะเวลาที่ลาคลอดมีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน จึงมีข้อเสนอแนะว่า บุคลากรทางการแพทย์โดยเฉพาะพยาบาลควรมีบทบาทในการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับมารดาและครอบครัว รวมทั้งร่วมผลักดันนโยบายสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และให้มารดาหลังคลอดที่ทำงานสามารถลาคลอดได้นานกว่า 90 วัน Purpose: To investigate the predictive power of income, education, attitude, breastfeeding support, length of maternity leave, and work hours on the 6-month exclusive breastfeeding in the working mothers. Design: Predictive research design. Methods: The sample consisted of 182 working mothers having an infant aged between 6 months to 1 year who visited the well-baby clinics at Saraburi Hospital, Phraphutthabat Hospital, and King Narai Hospital. Data were collected using the demographic characteristics interview, the Iowa Infant Feeding Attitude Scale (IIFAS), the Perceived Breastfeeding Support Assessment Tool (PBSAT), and the infant feeding interview form. Data were analyzed using descriptive statistics and logistic regression. Main finding: It is revealed that income, education, attitude, breastfeeding support, length of maternity leave, and work hours altogether could explain 43.9% of the variance in the success of 6-month exclusive breastfeeding in the working mothers (R2 = .439, p < .05). Only two factors that could predict the 6-month exclusive breastfeeding in the working mothers with the statistical significance were attitude (OR = 1.149, 95%CI = 1.075, 1.228, p < .001) and length of maternity leave (OR = 2.903, 95%CI = 1.327, 6.350, p = .008). Conclusion and recommendations: Attitude and length of maternity leave have influence on success of exclusive breastfeeding for 6 months in the working mothers. It is suggested that the healthcare providers especially nurses should promote the positive attitude towards breastfeeding to the mothers and their families. Policies should be enforced to encourage breastfeeding in the working postpartum mothers and to increase a maternity leave for more than 90 days. งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมเวชศาสตร์ปริกําเนิดแห่งประเทศไทย 2020-04-17T05:27:36Z 2020-04-17T05:27:36Z 2563-04-17 2563 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มี.ค 2563), 47-59 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54245 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf