ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจ และปัจจัยที่มีผลต่อระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้มารับบริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเก็บข้อมูลจากผู้มารับ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จุฑาภรณ์ คำโยค, วลัยพร ราชคมน์, วรัญญา เขยตุ้ย, Chuthaporn Khamyok, Walaiporn Ratchakom, Warunya Kheytui
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. หน่วยบริหารความเสี่ยง
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54748
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.54748
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การให้บริการ
ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
โรงพยาบาลทันตกรรม
Dental Service
Satisfaction
Dental Hospital
นักบริหารความเสี่ยง
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
spellingShingle การให้บริการ
ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
โรงพยาบาลทันตกรรม
Dental Service
Satisfaction
Dental Hospital
นักบริหารความเสี่ยง
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
จุฑาภรณ์ คำโยค
วลัยพร ราชคมน์
วรัญญา เขยตุ้ย
Chuthaporn Khamyok
Walaiporn Ratchakom
Warunya Kheytui
ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
description การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจ และปัจจัยที่มีผลต่อระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้มารับบริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเก็บข้อมูลจากผู้มารับบริการทันตกรรมจาก 9 คลินิกภายในโรงพยาบาลทันตกรรม ในช่วงเดือนตุลาคม ถึง ธันวาคม 2557 จำนวน 440 ราย โดยศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการ 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการสอบถามหรือนัดหมายทางโทรศัพท์ ด้านการต้อนรับจากเจ้าหน้าที่ ด้านสถานที่ ด้านการบริการช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ ด้านระยะเวลาในการรอตรวจ ด้านการบริการของผู้ช่วยทันตแพทย์ ด้านการบริการของทันตแพทย์ ด้านการรักษาความลับ และการดูแลสุขภาพช่องปากหลังการรักษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ข้อมูลการรับบริการทางทันตกรรม ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจต่อการให้บริการ และส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะ นำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่าผู้มารับบริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวมละรายด้านทั้ง 9 ด้าน อยู่ในระดับมากโดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านสถานที่ (¯x = 4.43, SD = 0.65) รองลงมาคือ ด้านการดูแลสุขภาพช่องปากหลังการรักษา (¯x = 4.29, SD = 0.57) ด้านการตอบรับจากเจ้าหน้าที่ (¯x = 4.28, SD = 0.65) ด้านการบริการของทันตแพทย์ (¯x = 4.27, SD = 0.52) ด้านการรักษาความลับ (¯x = 4.23, SD = 0.65) ด้านการบริการช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ (¯x = 4.19, SD = 0.66) ด้านการบริการของผู้ช่วยทันตแพทย์ (¯x = 4.18, SD = 0.62) ด้านการสอบถามหรือนัดหมายทางโทรศัพท์ (¯x = 4.11, SD = 0.73) และด้านระยะเวลาในการรอตรวจ (¯x = 3.93, SD = 0.82) ตามลำดับ การวิเคราะห์เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อระบบความพึงพอใจของผู้รับบริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย พบว่า ผู้รับบริการที่มีเพศชายมีความพึงพอใจมากกว่าเพศหญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.16) สำหรับปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และสิทธิการรักษา มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไม่แตกต่างกัน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. หน่วยบริหารความเสี่ยง
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. หน่วยบริหารความเสี่ยง
จุฑาภรณ์ คำโยค
วลัยพร ราชคมน์
วรัญญา เขยตุ้ย
Chuthaporn Khamyok
Walaiporn Ratchakom
Warunya Kheytui
format Article
author จุฑาภรณ์ คำโยค
วลัยพร ราชคมน์
วรัญญา เขยตุ้ย
Chuthaporn Khamyok
Walaiporn Ratchakom
Warunya Kheytui
author_sort จุฑาภรณ์ คำโยค
title ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_short ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_fullStr ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full_unstemmed ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_sort ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54748
_version_ 1763490804494499840
spelling th-mahidol.547482023-03-31T04:14:29Z ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Patient's Satisfaction toward Dental service of the Dental Hospital, Faculty of Dentistry, Mahidol University จุฑาภรณ์ คำโยค วลัยพร ราชคมน์ วรัญญา เขยตุ้ย Chuthaporn Khamyok Walaiporn Ratchakom Warunya Kheytui มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. หน่วยบริหารความเสี่ยง การให้บริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ โรงพยาบาลทันตกรรม Dental Service Satisfaction Dental Hospital นักบริหารความเสี่ยง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจ และปัจจัยที่มีผลต่อระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้มารับบริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเก็บข้อมูลจากผู้มารับบริการทันตกรรมจาก 9 คลินิกภายในโรงพยาบาลทันตกรรม ในช่วงเดือนตุลาคม ถึง ธันวาคม 2557 จำนวน 440 ราย โดยศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการ 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการสอบถามหรือนัดหมายทางโทรศัพท์ ด้านการต้อนรับจากเจ้าหน้าที่ ด้านสถานที่ ด้านการบริการช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ ด้านระยะเวลาในการรอตรวจ ด้านการบริการของผู้ช่วยทันตแพทย์ ด้านการบริการของทันตแพทย์ ด้านการรักษาความลับ และการดูแลสุขภาพช่องปากหลังการรักษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ข้อมูลการรับบริการทางทันตกรรม ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจต่อการให้บริการ และส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะ นำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่าผู้มารับบริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวมละรายด้านทั้ง 9 ด้าน อยู่ในระดับมากโดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านสถานที่ (¯x = 4.43, SD = 0.65) รองลงมาคือ ด้านการดูแลสุขภาพช่องปากหลังการรักษา (¯x = 4.29, SD = 0.57) ด้านการตอบรับจากเจ้าหน้าที่ (¯x = 4.28, SD = 0.65) ด้านการบริการของทันตแพทย์ (¯x = 4.27, SD = 0.52) ด้านการรักษาความลับ (¯x = 4.23, SD = 0.65) ด้านการบริการช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ (¯x = 4.19, SD = 0.66) ด้านการบริการของผู้ช่วยทันตแพทย์ (¯x = 4.18, SD = 0.62) ด้านการสอบถามหรือนัดหมายทางโทรศัพท์ (¯x = 4.11, SD = 0.73) และด้านระยะเวลาในการรอตรวจ (¯x = 3.93, SD = 0.82) ตามลำดับ การวิเคราะห์เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อระบบความพึงพอใจของผู้รับบริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย พบว่า ผู้รับบริการที่มีเพศชายมีความพึงพอใจมากกว่าเพศหญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.16) สำหรับปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และสิทธิการรักษา มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไม่แตกต่างกัน The objective of this study was to investigate patient’s satisfaction and the factors that influence the patient’s satisfaction to the service at the Dental Hospital, Faculty of Dentistry, Mahidol University. Data were collected from 440 patients who had various treatments from nine clinics in the hospital during October to December 2014. The collected data were classified into 9 categories as follows: phone call service; receptionist; hospital facility; personnel’s service; waiting time; dental assistance; dentist; confidentiality; and treatment outcome. The questionnaires contain four parts: part I - general information; part II - service information; part III service satisfaction; part IV – customers’ suggestion. The data were analyzed using SPSS software for frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One-way ANOVA. In general, the results showed that the patients were very satisfied with the service at the Dental Hospital (score > 4 from 1 to 5 scale). The most satisfaction of the service at the hospital was the hospital facility (mean = 4.43; SD = 0.51), and the least satisfaction was the waiting time (mean = 3.93; SD = 0.82). The male patients were more satisfied with the service than the female group (p = 0.016). For the other factors such as age, marital status, education, job, income and patient’s treatment right, there were no differences of the satisfaction level on those factors. 2020-05-07T04:16:09Z 2020-05-07T04:16:09Z 2563-05-06 2559 Research Article วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2559). 94-109 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54748 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf