ไทดำ : พลวัตวัฒนธรรมกับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ผ่านดนตรี

บทความนี้มุ่งอธิบายการธำรงอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำผ่านการวิเคราะห์องค์ประกอบทางดนตรีที่พบในวัฒนธรรมดนตรีของชาวไทดำภายใต้บริบททางสังคมวัฒนธรรมใน 3 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และไทย ซึ่งเป็นความพยายามอธิบายผ่านการศึกษาเชิงบูรณาการตามแนวทางการศึกษาด้า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุธี จันทร์ศรี, สมทรง บุรุษพัฒน์, Sutee Chansri, Somsonge Burusphat
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาภาษาศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55086
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.55086
record_format dspace
spelling th-mahidol.550862023-03-30T15:48:19Z ไทดำ : พลวัตวัฒนธรรมกับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ผ่านดนตรี TaiDam:Culturaldynamicsandthemaintenanceofethnicidentitythroughmusic สุธี จันทร์ศรี สมทรง บุรุษพัฒน์ Sutee Chansri Somsonge Burusphat มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาภาษาศาสตร์ วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ภาควิชาดนตรีไทย มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท วัฒนธรรมดนตรี ไทดำ แคนวงประยุกต์ ขับไทดำ การธำรงอัตลักษณ์ อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ musical culture Tai Dam Applied Khaen Ensemble Tai Dam folk song identity maintenance ethnic identity วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture บทความนี้มุ่งอธิบายการธำรงอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำผ่านการวิเคราะห์องค์ประกอบทางดนตรีที่พบในวัฒนธรรมดนตรีของชาวไทดำภายใต้บริบททางสังคมวัฒนธรรมใน 3 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และไทย ซึ่งเป็นความพยายามอธิบายผ่านการศึกษาเชิงบูรณาการตามแนวทางการศึกษาด้านมานุษยวิทยาการดนตรีและมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ผลการศึกษาพบว่า วัฒนธรรมดนตรีไทดำทั้ง 3 ประเทศมีลักษณะเฉพาะทางดนตรีที่สะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ภายใต้บริบททางสังคมที่แตกต่างกันไป ได้แก่ 1) การคงสภาพของลักษณะเฉพาะทางดนตรีเพื่อตอกย้ำจิตสำนึกความเป็นชาติพันธุ์ 2) การเลือกนำเสนอลักษณะเฉพาะทางดนตรีเพื่อสร้างความเด่นชัดของพรมแดนชาติพันธุ์บนพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย 3) การผสมผสานองค์ประกอบดนตรีเข้ากับดนตรีสมัยนิยม เพื่อต่อรองในเชิงคุณค่าสุนทรียะและแสดงถึงศักยภาพทางดนตรีที่มีความทันสมัยทัดเทียมกับดนตรีกระแสหลัก 4) สร้างสรรค์องค์ประกอบทางดนตรีขึ้นใหม่ โดยส่งผ่านไปยังสมาชิกในชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน จนกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาวไทดำที่สะท้อนจิตสำนึกของชาวไทดำได้ สะท้อนให้เห็นว่าชาวไทดำสามารถเรียนรู้และสร้างสรรค์วัฒนธรรมดนตรีของตนให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ดนตรีของชาวไทดำจึงได้รับการสืบทอดและทำหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมเพื่อธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ภายใต้พลวัตวัฒนธรรมที่ไม่หยุดนิ่งต่อไปได้ This paper aims to explain the identity maintenance of the Tai Dam ethnic group through an analysis of musical components found in the musical culture of the ethnic group within three socio-cultural contexts in three countries: Vietnam, Laos, and Thailand. This study was conducted through the integration of cultural and musical anthropological methodology. The results reveal unique differences in Tai Dam musical culture between each country that reflect a diverse ethnic identity maintenance process within different contexts. They include: 1) a fortification of ethnic awareness process in the form of reproduction of ethnic ideology by means of unique musical attributes known only to ethnic group members; 2) the selection of unique musical attributes for demonstration in order to make the Tai Dam culturally-distinct from other ethnic groups; 3) modernized Tai Dam music created by blending traditional with contemporary music to reveal its adaptability and assert its value as equal to that of value that is not inferior to modern music; and 4) the adaption of conventional musical components which are transferred to the members of the ethnic group thereby redefining the heritage that reflects their cultural and ethnic identity. These changes indicate that, notwithstanding the diminishing role of traditional musical culture in ethnic society, the Tai Dam ethnic group has been able to learn about and create distinguishing music in an attempt to exploit it as a cultural symbol that leads to the maintenance of their ethnic identity within an ever-changing cultural dynamism. 2020-05-08T09:33:40Z 2020-05-08T09:33:40Z 2563-05-08 2561 Research Article วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 37, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2561), 97-116 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55086 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic วัฒนธรรมดนตรี
ไทดำ
แคนวงประยุกต์
ขับไทดำ
การธำรงอัตลักษณ์
อัตลักษณ์ชาติพันธุ์
musical culture
Tai Dam
Applied Khaen Ensemble
Tai Dam folk song
identity maintenance
ethnic identity
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
spellingShingle วัฒนธรรมดนตรี
ไทดำ
แคนวงประยุกต์
ขับไทดำ
การธำรงอัตลักษณ์
อัตลักษณ์ชาติพันธุ์
musical culture
Tai Dam
Applied Khaen Ensemble
Tai Dam folk song
identity maintenance
ethnic identity
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
สุธี จันทร์ศรี
สมทรง บุรุษพัฒน์
Sutee Chansri
Somsonge Burusphat
ไทดำ : พลวัตวัฒนธรรมกับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ผ่านดนตรี
description บทความนี้มุ่งอธิบายการธำรงอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำผ่านการวิเคราะห์องค์ประกอบทางดนตรีที่พบในวัฒนธรรมดนตรีของชาวไทดำภายใต้บริบททางสังคมวัฒนธรรมใน 3 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และไทย ซึ่งเป็นความพยายามอธิบายผ่านการศึกษาเชิงบูรณาการตามแนวทางการศึกษาด้านมานุษยวิทยาการดนตรีและมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ผลการศึกษาพบว่า วัฒนธรรมดนตรีไทดำทั้ง 3 ประเทศมีลักษณะเฉพาะทางดนตรีที่สะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ภายใต้บริบททางสังคมที่แตกต่างกันไป ได้แก่ 1) การคงสภาพของลักษณะเฉพาะทางดนตรีเพื่อตอกย้ำจิตสำนึกความเป็นชาติพันธุ์ 2) การเลือกนำเสนอลักษณะเฉพาะทางดนตรีเพื่อสร้างความเด่นชัดของพรมแดนชาติพันธุ์บนพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย 3) การผสมผสานองค์ประกอบดนตรีเข้ากับดนตรีสมัยนิยม เพื่อต่อรองในเชิงคุณค่าสุนทรียะและแสดงถึงศักยภาพทางดนตรีที่มีความทันสมัยทัดเทียมกับดนตรีกระแสหลัก 4) สร้างสรรค์องค์ประกอบทางดนตรีขึ้นใหม่ โดยส่งผ่านไปยังสมาชิกในชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน จนกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาวไทดำที่สะท้อนจิตสำนึกของชาวไทดำได้ สะท้อนให้เห็นว่าชาวไทดำสามารถเรียนรู้และสร้างสรรค์วัฒนธรรมดนตรีของตนให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ดนตรีของชาวไทดำจึงได้รับการสืบทอดและทำหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมเพื่อธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ภายใต้พลวัตวัฒนธรรมที่ไม่หยุดนิ่งต่อไปได้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาภาษาศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาภาษาศาสตร์
สุธี จันทร์ศรี
สมทรง บุรุษพัฒน์
Sutee Chansri
Somsonge Burusphat
format Article
author สุธี จันทร์ศรี
สมทรง บุรุษพัฒน์
Sutee Chansri
Somsonge Burusphat
author_sort สุธี จันทร์ศรี
title ไทดำ : พลวัตวัฒนธรรมกับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ผ่านดนตรี
title_short ไทดำ : พลวัตวัฒนธรรมกับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ผ่านดนตรี
title_full ไทดำ : พลวัตวัฒนธรรมกับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ผ่านดนตรี
title_fullStr ไทดำ : พลวัตวัฒนธรรมกับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ผ่านดนตรี
title_full_unstemmed ไทดำ : พลวัตวัฒนธรรมกับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ผ่านดนตรี
title_sort ไทดำ : พลวัตวัฒนธรรมกับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ผ่านดนตรี
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55086
_version_ 1763490979007954944