วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามว่าวัดในประเทศไทยมีความพร้อม ในการรองรับสังคมผู้สูงอายุหรือไม่ มีความพร้อมในด้านใดบ้าง มีปัจจัยอะไรที่ทำให้วัด มีความพร้อมแตกต่างกัน โดยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณศึกษากับวัดพัฒนาตัวอย่างทั่วประเทศจานวน 866 วัด ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2555 ผลการศึกษาพบว่า ในภาพรวมวัดส่วนให...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เสาวภา พรสิริพงษ์, ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์, ยงยุทธ บุราสิทธิ์, Saowapa Pornsiripongse, Kwanchit Sasiwongsaroj, Yongyuth Burasith
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55342
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.55342
record_format dspace
spelling th-mahidol.553422023-03-30T13:57:43Z วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ Preparedness of Buddhist temples for an aging society เสาวภา พรสิริพงษ์ ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ ยงยุทธ บุราสิทธิ์ Saowapa Pornsiripongse Kwanchit Sasiwongsaroj Yongyuth Burasith มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท ผู้สูงอายุ วัด ศาสนาพุทธ ทุนทางสังคม Aged people temple Buddhism social capital วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามว่าวัดในประเทศไทยมีความพร้อม ในการรองรับสังคมผู้สูงอายุหรือไม่ มีความพร้อมในด้านใดบ้าง มีปัจจัยอะไรที่ทำให้วัด มีความพร้อมแตกต่างกัน โดยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณศึกษากับวัดพัฒนาตัวอย่างทั่วประเทศจานวน 866 วัด ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2555 ผลการศึกษาพบว่า ในภาพรวมวัดส่วนใหญ่ มีความพร้อมในระดับปานกลาง เมื่อแยกรายด้านพบว่า วัดมีความพร้อมด้านการสร้างเครือข่ายและพื้นที่ทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุในระดับมาก ด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิตและด้านการส่งเสริมสุขภาพในระดับปานกลาง ส่วนปัจจัยที่ทำให้วัดมีความพร้อมแตกต่างกัน ได้แก่ ศักยภาพของเจ้าอาวาส จำนวนและคุณสมบัติของพระในวัด ความรู้ของพระ การสนับสนุนจากชุมชนรอบวัด และการทำงานเป็นเครือข่าย แนวทางในการสนับสนุนความพร้อมของวัดได้แก่ การจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างวัดที่ประสบผลสำเร็จในการทำงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุ การถวายความรู้เรื่องการบริหารและเรื่องผู้สูงอายุแด่พระสงฆ์ การสนับสนุนการสร้างเครือข่ายของวัด และการจัดพื้นที่และสิ่งแวดล้อมของวัดให้เอื้อต่อผู้สูงอายุ The objectives of this article are to explore how prepared Buddhist temples are for an aging society, which aspects of their preparation are significant, and what factors make some temples different from others. A quantitative method was used to collect datafrom 866 developed temples throughout the countryduring 2012-2013. The findings are as follows: almost all of the temples were moderately ready.They werehighly preparedfor social networking and social space, and moderately prepared for life-longlearning and health promotion.Factorsaffecting different degrees of preparedness included:the abbot’spotential, numberof monks, qualifications and knowledge of the resident monks, support from communities nearby,and experience in social networking. The means to developing the preparedness of temples were:sharing knowledge on best practices of temples, training programs for abbots on active administration, educating monks on aspects of aging,supporting temples in establishingnetworks, and creating an aged-friendly environment. 2020-05-15T04:33:26Z 2020-05-15T04:33:26Z 2563-05-15 2557 Research Article วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 33, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2557), 99-125 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55342 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผู้สูงอายุ
วัด
ศาสนาพุทธ
ทุนทางสังคม
Aged people
temple
Buddhism
social capital
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
spellingShingle ผู้สูงอายุ
วัด
ศาสนาพุทธ
ทุนทางสังคม
Aged people
temple
Buddhism
social capital
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
เสาวภา พรสิริพงษ์
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์
ยงยุทธ บุราสิทธิ์
Saowapa Pornsiripongse
Kwanchit Sasiwongsaroj
Yongyuth Burasith
วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ
description บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามว่าวัดในประเทศไทยมีความพร้อม ในการรองรับสังคมผู้สูงอายุหรือไม่ มีความพร้อมในด้านใดบ้าง มีปัจจัยอะไรที่ทำให้วัด มีความพร้อมแตกต่างกัน โดยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณศึกษากับวัดพัฒนาตัวอย่างทั่วประเทศจานวน 866 วัด ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2555 ผลการศึกษาพบว่า ในภาพรวมวัดส่วนใหญ่ มีความพร้อมในระดับปานกลาง เมื่อแยกรายด้านพบว่า วัดมีความพร้อมด้านการสร้างเครือข่ายและพื้นที่ทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุในระดับมาก ด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิตและด้านการส่งเสริมสุขภาพในระดับปานกลาง ส่วนปัจจัยที่ทำให้วัดมีความพร้อมแตกต่างกัน ได้แก่ ศักยภาพของเจ้าอาวาส จำนวนและคุณสมบัติของพระในวัด ความรู้ของพระ การสนับสนุนจากชุมชนรอบวัด และการทำงานเป็นเครือข่าย แนวทางในการสนับสนุนความพร้อมของวัดได้แก่ การจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างวัดที่ประสบผลสำเร็จในการทำงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุ การถวายความรู้เรื่องการบริหารและเรื่องผู้สูงอายุแด่พระสงฆ์ การสนับสนุนการสร้างเครือข่ายของวัด และการจัดพื้นที่และสิ่งแวดล้อมของวัดให้เอื้อต่อผู้สูงอายุ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
เสาวภา พรสิริพงษ์
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์
ยงยุทธ บุราสิทธิ์
Saowapa Pornsiripongse
Kwanchit Sasiwongsaroj
Yongyuth Burasith
format Article
author เสาวภา พรสิริพงษ์
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์
ยงยุทธ บุราสิทธิ์
Saowapa Pornsiripongse
Kwanchit Sasiwongsaroj
Yongyuth Burasith
author_sort เสาวภา พรสิริพงษ์
title วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ
title_short วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ
title_full วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ
title_fullStr วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ
title_full_unstemmed วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ
title_sort วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55342
_version_ 1763492968994439168