การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบคำกล่าวของนักมานุษยวิทยาการดนตรี อลัน พี เมอร์เรียม ที่ว่าดนตรีที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและพิธีกรรมจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ หรือไม่เปลี่ยนแปลง เพราะการเปลี่ยนแปลงนั้นจะไปกระทบต่อส่วนอื่นๆ ของพิธีกรรม โดยได้ศึกษาดนตรีกันตรึมในพิธีเรือมมะม้วดของกลุ่มเขมรถิ่นไทยในจังหว...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55428 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบคำกล่าวของนักมานุษยวิทยาการดนตรี อลัน พี เมอร์เรียม ที่ว่าดนตรีที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและพิธีกรรมจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ หรือไม่เปลี่ยนแปลง เพราะการเปลี่ยนแปลงนั้นจะไปกระทบต่อส่วนอื่นๆ ของพิธีกรรม โดยได้ศึกษาดนตรีกันตรึมในพิธีเรือมมะม้วดของกลุ่มเขมรถิ่นไทยในจังหวัดสุรินทร์ ด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพกับวงดนตรีกันตรึมที่มีชื่อเสียง 3 วงในจังหวัดสุรินทร์ที่แสดงในพิธีเรือมมะม้วด สัมภาษณ์นักดนตรีกันตรึม ครูมะม้วด และชาวบ้านที่เข้าร่วมพิธีกรรม ผลการศึกษาพบว่า คำกล่าวของเมอร์เรียมไม่สามารถอธิบายได้กับดนตรีกันตรึมในพิธีเรือมมะม้วด (1) เพราะดนตรีกันตรึมเป็นทั้งดนตรีในพิธีกรรมและดนตรีเพื่อการบันเทิง (2) ความสำเร็จหรือความหมายของพิธีไม่ได้ขึ้นอยู่กับรูปแบบของดนตรีที่ตายตัว (3) “รูปมะม้วด” รุ่นใหม่ มีอายุน้อย ชอบดนตรีที่ทันสมัยมากกว่ารูปมะม้วดที่มีอายุมาก และ (4) การจัดพิธีเรือมมะม้วดมีเรื่องของธุรกิจเข้ามาเกี่ยวข้อง |
---|