การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบคำกล่าวของนักมานุษยวิทยาการดนตรี อลัน พี เมอร์เรียม ที่ว่าดนตรีที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและพิธีกรรมจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ หรือไม่เปลี่ยนแปลง เพราะการเปลี่ยนแปลงนั้นจะไปกระทบต่อส่วนอื่นๆ ของพิธีกรรม โดยได้ศึกษาดนตรีกันตรึมในพิธีเรือมมะม้วดของกลุ่มเขมรถิ่นไทยในจังหว...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วรวิทย์ วราสินธ์, เสาวภา พรสิริพงษ์, Saowapa Pornsiripongse
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาวัฒนธรรมและการพัฒนา
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55428
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.55428
record_format dspace
spelling th-mahidol.554282023-03-31T10:14:36Z การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์ The changing role of Kantrum music: From sacred to commercial วรวิทย์ วราสินธ์ เสาวภา พรสิริพงษ์ Saowapa Pornsiripongse มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาวัฒนธรรมและการพัฒนา มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท กันตรึม การเปลี่ยนบทบาท เขมรถิ่นไทย จังหวัดสุรินทร์ ดนตรีพิธีกรรม Kantrum itual music role changing Surin province Thai Khmer ethnic people วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบคำกล่าวของนักมานุษยวิทยาการดนตรี อลัน พี เมอร์เรียม ที่ว่าดนตรีที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและพิธีกรรมจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ หรือไม่เปลี่ยนแปลง เพราะการเปลี่ยนแปลงนั้นจะไปกระทบต่อส่วนอื่นๆ ของพิธีกรรม โดยได้ศึกษาดนตรีกันตรึมในพิธีเรือมมะม้วดของกลุ่มเขมรถิ่นไทยในจังหวัดสุรินทร์ ด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพกับวงดนตรีกันตรึมที่มีชื่อเสียง 3 วงในจังหวัดสุรินทร์ที่แสดงในพิธีเรือมมะม้วด สัมภาษณ์นักดนตรีกันตรึม ครูมะม้วด และชาวบ้านที่เข้าร่วมพิธีกรรม ผลการศึกษาพบว่า คำกล่าวของเมอร์เรียมไม่สามารถอธิบายได้กับดนตรีกันตรึมในพิธีเรือมมะม้วด (1) เพราะดนตรีกันตรึมเป็นทั้งดนตรีในพิธีกรรมและดนตรีเพื่อการบันเทิง (2) ความสำเร็จหรือความหมายของพิธีไม่ได้ขึ้นอยู่กับรูปแบบของดนตรีที่ตายตัว (3) “รูปมะม้วด” รุ่นใหม่ มีอายุน้อย ชอบดนตรีที่ทันสมัยมากกว่ารูปมะม้วดที่มีอายุมาก และ (4) การจัดพิธีเรือมมะม้วดมีเรื่องของธุรกิจเข้ามาเกี่ยวข้อง The objective of this article is to test ethnomusicologist A.P. Merriam\s conclusion that: ]ritual music has gradually changed or unchanged because those changes would affect other elements of the ritual\. To that end, Kantrum music, played in Mamuad rituals of the Thai Khmer ethnic group in Surin province, was studied. A qualitative method was used to collect data from 3 famous ensembles which perform at Mamuad rituals. Kantrummusicians playing in those ensembles, Mamuad mediums and villagers attending Mamuadritual were interviewed and observed. The study found that Merriam\s conclusion could not explain Kantrum music in Mamuad rituals in Surin province because: (1) Kantrum is both ritual and life music; (2) the success of Mamuad rituals does not depend on the static form of music; (3) young Mamuad mediums prefer modern Kantrum to the traditional, older Mamuad; and (4) commercial interests connected to Mamuad rituals. 2020-05-20T08:37:38Z 2020-05-20T08:37:38Z 2563-05-20 2555 Article วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 31, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2555), 79-107 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55428 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic กันตรึม
การเปลี่ยนบทบาท
เขมรถิ่นไทย
จังหวัดสุรินทร์
ดนตรีพิธีกรรม
Kantrum
itual music
role changing
Surin province
Thai Khmer ethnic people
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
spellingShingle กันตรึม
การเปลี่ยนบทบาท
เขมรถิ่นไทย
จังหวัดสุรินทร์
ดนตรีพิธีกรรม
Kantrum
itual music
role changing
Surin province
Thai Khmer ethnic people
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
วรวิทย์ วราสินธ์
เสาวภา พรสิริพงษ์
Saowapa Pornsiripongse
การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์
description บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบคำกล่าวของนักมานุษยวิทยาการดนตรี อลัน พี เมอร์เรียม ที่ว่าดนตรีที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและพิธีกรรมจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ หรือไม่เปลี่ยนแปลง เพราะการเปลี่ยนแปลงนั้นจะไปกระทบต่อส่วนอื่นๆ ของพิธีกรรม โดยได้ศึกษาดนตรีกันตรึมในพิธีเรือมมะม้วดของกลุ่มเขมรถิ่นไทยในจังหวัดสุรินทร์ ด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพกับวงดนตรีกันตรึมที่มีชื่อเสียง 3 วงในจังหวัดสุรินทร์ที่แสดงในพิธีเรือมมะม้วด สัมภาษณ์นักดนตรีกันตรึม ครูมะม้วด และชาวบ้านที่เข้าร่วมพิธีกรรม ผลการศึกษาพบว่า คำกล่าวของเมอร์เรียมไม่สามารถอธิบายได้กับดนตรีกันตรึมในพิธีเรือมมะม้วด (1) เพราะดนตรีกันตรึมเป็นทั้งดนตรีในพิธีกรรมและดนตรีเพื่อการบันเทิง (2) ความสำเร็จหรือความหมายของพิธีไม่ได้ขึ้นอยู่กับรูปแบบของดนตรีที่ตายตัว (3) “รูปมะม้วด” รุ่นใหม่ มีอายุน้อย ชอบดนตรีที่ทันสมัยมากกว่ารูปมะม้วดที่มีอายุมาก และ (4) การจัดพิธีเรือมมะม้วดมีเรื่องของธุรกิจเข้ามาเกี่ยวข้อง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาวัฒนธรรมและการพัฒนา
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาวัฒนธรรมและการพัฒนา
วรวิทย์ วราสินธ์
เสาวภา พรสิริพงษ์
Saowapa Pornsiripongse
format Article
author วรวิทย์ วราสินธ์
เสาวภา พรสิริพงษ์
Saowapa Pornsiripongse
author_sort วรวิทย์ วราสินธ์
title การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์
title_short การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์
title_full การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์
title_fullStr การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์
title_full_unstemmed การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์
title_sort การเปลี่ยนผ่านบทบาทหน้าที่ดนตรีกันตรึม: จากดนตรีศักดิ์สิทธิ์สู่ดนตรีพาณิชย์
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55428
_version_ 1764209905247453184