บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี

ภารกิจสำคัญของ นักสื่อสารสุขภาพ ได้แก่ การเปลี่ยนรูปการสื่อสารด้านสุขภาพ จากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล ไปเป็น การสื่อสารสองทาง โดยมีจุดหมายให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ด้านการสื่อสารสุขภาพ บทความนี้ เป็นบทวิเคราะห์ประสบการณ์การพัฒนานักสื่อสารสุขภาพ ซึ่งดำเนินงานโดยแผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชิตชยางค์ ยมาภัย, Jitjayang Yamabhai
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55433
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
Description
Summary:ภารกิจสำคัญของ นักสื่อสารสุขภาพ ได้แก่ การเปลี่ยนรูปการสื่อสารด้านสุขภาพ จากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล ไปเป็น การสื่อสารสองทาง โดยมีจุดหมายให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ด้านการสื่อสารสุขภาพ บทความนี้ เป็นบทวิเคราะห์ประสบการณ์การพัฒนานักสื่อสารสุขภาพ ซึ่งดำเนินงานโดยแผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพของประชาชน ด้วยการพัฒนา “นักสื่อสารสุขภาพ” ขึ้นในท้องถิ่น โครงการฯ ได้ดำเนินงานในพื้นที่ 11 จังหวัด ระหว่างเดือนเมษายน 2552 ถึง เดือน กันยายน 2553 ผู้เขียนใช้แนวทาง อภิชาติพันธุ์วรรณา และประยุกต์แนวคิดปัญจางควิธี ของ เคนเนท เบิร์ก เป็นกรอบความคิดในการศึกษา บทความนี้เสนอข้อสรุปว่า นักสื่อสารสุขภาพ เป็นปฏิบัติการทางสังคม ที่จะเปลี่ยนรูปแบบแผนของการการสื่อสารสุขภาพ ให้อำนาจการสื่อสารอยู่ในมือประชาชนมากขึ้น โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของคนที่เกี่ยวข้อง ผลของการดำเนินงานมีส่วนช่วยให้เกิดความเป็นธรรมทางการสื่อสารให้เพิ่มมากขึ้น