บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี
ภารกิจสำคัญของ นักสื่อสารสุขภาพ ได้แก่ การเปลี่ยนรูปการสื่อสารด้านสุขภาพ จากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล ไปเป็น การสื่อสารสองทาง โดยมีจุดหมายให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ด้านการสื่อสารสุขภาพ บทความนี้ เป็นบทวิเคราะห์ประสบการณ์การพัฒนานักสื่อสารสุขภาพ ซึ่งดำเนินงานโดยแผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพส...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55433 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.55433 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.554332023-03-30T17:33:37Z บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี An analysis of health communicators by Pendatic Approach ชิตชยางค์ ยมาภัย Jitjayang Yamabhai มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท นักสื่อสารสุขภาพ ปัญจางควิธี การเปลี่ยนรูปทางการสื่อสาร health communicator Pentad communicational transformation วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture ภารกิจสำคัญของ นักสื่อสารสุขภาพ ได้แก่ การเปลี่ยนรูปการสื่อสารด้านสุขภาพ จากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล ไปเป็น การสื่อสารสองทาง โดยมีจุดหมายให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ด้านการสื่อสารสุขภาพ บทความนี้ เป็นบทวิเคราะห์ประสบการณ์การพัฒนานักสื่อสารสุขภาพ ซึ่งดำเนินงานโดยแผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพของประชาชน ด้วยการพัฒนา “นักสื่อสารสุขภาพ” ขึ้นในท้องถิ่น โครงการฯ ได้ดำเนินงานในพื้นที่ 11 จังหวัด ระหว่างเดือนเมษายน 2552 ถึง เดือน กันยายน 2553 ผู้เขียนใช้แนวทาง อภิชาติพันธุ์วรรณา และประยุกต์แนวคิดปัญจางควิธี ของ เคนเนท เบิร์ก เป็นกรอบความคิดในการศึกษา บทความนี้เสนอข้อสรุปว่า นักสื่อสารสุขภาพ เป็นปฏิบัติการทางสังคม ที่จะเปลี่ยนรูปแบบแผนของการการสื่อสารสุขภาพ ให้อำนาจการสื่อสารอยู่ในมือประชาชนมากขึ้น โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของคนที่เกี่ยวข้อง ผลของการดำเนินงานมีส่วนช่วยให้เกิดความเป็นธรรมทางการสื่อสารให้เพิ่มมากขึ้น The main task of “Health communicator” is to transform the pattern of communication from one of dissemination of health information to that of two-way communication in order to enhance the capacity of people to become self reliant in health communication. This article is an analysis of health communicator practices under the Research and Development of People Health Communications Project. The project aims to develop “health communicators” in order to support the development of health communication. The project was launched in 11 provinces to promote a system of people’s health system during April 2009 – September 2010. The study uses Meta-ethnography methodology and applies Kenneth Burke’s Pendatic Approach as a framework.This article agrees that ‘Health communicators’ form the basis of a social movement that uses communication to promote collective learning and action on health issues which, in turn, empowers the people to take control of health communication. As a result, health communicators are able to enhance the equalization of communication. 2020-05-21T07:37:12Z 2020-05-21T07:37:12Z 2563-05-21 2553 Research Article วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2553), 29-44 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55433 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
นักสื่อสารสุขภาพ ปัญจางควิธี การเปลี่ยนรูปทางการสื่อสาร health communicator Pentad communicational transformation วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture |
spellingShingle |
นักสื่อสารสุขภาพ ปัญจางควิธี การเปลี่ยนรูปทางการสื่อสาร health communicator Pentad communicational transformation วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture ชิตชยางค์ ยมาภัย Jitjayang Yamabhai บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี |
description |
ภารกิจสำคัญของ นักสื่อสารสุขภาพ ได้แก่ การเปลี่ยนรูปการสื่อสารด้านสุขภาพ จากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล ไปเป็น การสื่อสารสองทาง โดยมีจุดหมายให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ด้านการสื่อสารสุขภาพ บทความนี้ เป็นบทวิเคราะห์ประสบการณ์การพัฒนานักสื่อสารสุขภาพ ซึ่งดำเนินงานโดยแผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพของประชาชน ด้วยการพัฒนา “นักสื่อสารสุขภาพ” ขึ้นในท้องถิ่น โครงการฯ ได้ดำเนินงานในพื้นที่ 11 จังหวัด ระหว่างเดือนเมษายน 2552 ถึง เดือน กันยายน 2553 ผู้เขียนใช้แนวทาง อภิชาติพันธุ์วรรณา และประยุกต์แนวคิดปัญจางควิธี ของ เคนเนท เบิร์ก เป็นกรอบความคิดในการศึกษา บทความนี้เสนอข้อสรุปว่า นักสื่อสารสุขภาพ เป็นปฏิบัติการทางสังคม ที่จะเปลี่ยนรูปแบบแผนของการการสื่อสารสุขภาพ ให้อำนาจการสื่อสารอยู่ในมือประชาชนมากขึ้น โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของคนที่เกี่ยวข้อง ผลของการดำเนินงานมีส่วนช่วยให้เกิดความเป็นธรรมทางการสื่อสารให้เพิ่มมากขึ้น |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา ชิตชยางค์ ยมาภัย Jitjayang Yamabhai |
format |
Article |
author |
ชิตชยางค์ ยมาภัย Jitjayang Yamabhai |
author_sort |
ชิตชยางค์ ยมาภัย |
title |
บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี |
title_short |
บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี |
title_full |
บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี |
title_fullStr |
บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี |
title_full_unstemmed |
บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี |
title_sort |
บทวิเคราะห์นักสื่อสารสุขภาพตามแนวปัญจางควิธี |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55433 |
_version_ |
1763491306770792448 |