ผลของการดูแลแบบแกงการูต่อระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนกำหนด

วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อน กำหนดขณะได้รับการดูแลแบบแกงการูกับการพยาบาลตามปกติเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) แบบข้ามสลับ (cross over design) กลุ่มตัวอย่างคือ มารดาและทารก คลอดก่อนกำหนด จำนวน 20 คู่ คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จากโรงพยาบา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปรินาสุภา หอมสมบัติ, จริยา วิทยะศุภร, ทิพวัลย์ ดารามาศ, Parinasupa Homsombat, Jariya Wittayasooporn, Tipawan Daramas
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/56865
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.56865
record_format dspace
spelling th-mahidol.568652023-03-31T01:10:55Z ผลของการดูแลแบบแกงการูต่อระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนกำหนด The Effect of Kangaroo Care on Sleep Duration in Preterm Infants ปรินาสุภา หอมสมบัติ จริยา วิทยะศุภร ทิพวัลย์ ดารามาศ Parinasupa Homsombat Jariya Wittayasooporn Tipawan Daramas มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ทารกเกิดก่อนกำหนด การดูแลแบบแกงการู ระยะเวลาการนอนหลับ Preterm infants Kangaroo care Sleep duration วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อน กำหนดขณะได้รับการดูแลแบบแกงการูกับการพยาบาลตามปกติเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) แบบข้ามสลับ (cross over design) กลุ่มตัวอย่างคือ มารดาและทารก คลอดก่อนกำหนด จำนวน 20 คู่ คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่ง หนึ่งในจังหวัดปทุมธานีระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง กันยายน พ.ศ. 2561 มารดาและทารกแต่ละคู่ ได้รับการสุ่มให้อยู่ในเหตุการณ์ควบคุมหรือเหตุการณ์ทดลองในครั้งแรกและสลับในช่วงถัดไป ซึ่งการดูแลแบบแกงการูเป็นการอุ้มทารกแนบชิดอกให้ผิวหนังทารกสัมผัสกับผิวหนังมารดา ผู้วิจัย ทำการบันทึกวีดิทัศน์ตลอดการทดลองเพื่อนำมาประเมินพฤติกรรมการนอนหลับของกลุ่มตัวอย่าง ตามคู่มือประเมินพฤติกรรมการหลับตื่นของทารกเกิดก่อนกำหนด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ paired t-test และสถิติWilcoxon Signed-rank test ผลการศึกษาพบว่า ทารกเกิดก่อนกำหนด ขณะที่ได้รับการดูแลแบบแกงการูมีค่าเฉลี่ยระยะเวลาการนอนหลับนานกว่าขณะที่ได้รับการ พยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนสมมติฐานการวิจัยและ เป็นไปตามข้อเสนอขององค์การอนามัยโลกที่ให้การดูแลแบบแกงการูเป็นระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 1 ชั่วโมงและควรทำการดูแลอย่างต่อเนื่องเพื่อประโยชน์สูงสุดของการดูแลแบบแกงการ This study aimed to compare the average sleep duration of preterm infants between Kangaroo care and usual care. A quasi-experimental study with a crossover design was used. The samples consisted of 20 pairs of mothers and preterm infants recruited using purposive sampling from one university hospital, Pathum Thani Province, during May–September 2018. Each pair of samples was randomly assigned to either the experiment or the control situation first and vice versa. The Kangaroo care is a method of holding a baby that involves skin-to-skin contact. The sleep-wake state was evaluated using the tape record and evaluation guidelines. The data were analyzed using paired t-test or Wilcoxon Signed-rank test. The findings showed that the preterm infants during Kangaroo care had the average sleep time longer than during usual care with a statistical significance. The results of this study support the study hypothesis and assure the WHO recommendation to provide Kangaroo care for at least one hour and keep continuing as long as possible for the optimum benefit of Kangaroo care. 2020-06-29T06:41:14Z 2020-06-29T06:41:14Z 2563-06-29 2563 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 26, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2563), 31-45 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/56865 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ทารกเกิดก่อนกำหนด
การดูแลแบบแกงการู
ระยะเวลาการนอนหลับ
Preterm infants
Kangaroo care
Sleep duration
spellingShingle ทารกเกิดก่อนกำหนด
การดูแลแบบแกงการู
ระยะเวลาการนอนหลับ
Preterm infants
Kangaroo care
Sleep duration
ปรินาสุภา หอมสมบัติ
จริยา วิทยะศุภร
ทิพวัลย์ ดารามาศ
Parinasupa Homsombat
Jariya Wittayasooporn
Tipawan Daramas
ผลของการดูแลแบบแกงการูต่อระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนกำหนด
description วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อน กำหนดขณะได้รับการดูแลแบบแกงการูกับการพยาบาลตามปกติเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) แบบข้ามสลับ (cross over design) กลุ่มตัวอย่างคือ มารดาและทารก คลอดก่อนกำหนด จำนวน 20 คู่ คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่ง หนึ่งในจังหวัดปทุมธานีระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง กันยายน พ.ศ. 2561 มารดาและทารกแต่ละคู่ ได้รับการสุ่มให้อยู่ในเหตุการณ์ควบคุมหรือเหตุการณ์ทดลองในครั้งแรกและสลับในช่วงถัดไป ซึ่งการดูแลแบบแกงการูเป็นการอุ้มทารกแนบชิดอกให้ผิวหนังทารกสัมผัสกับผิวหนังมารดา ผู้วิจัย ทำการบันทึกวีดิทัศน์ตลอดการทดลองเพื่อนำมาประเมินพฤติกรรมการนอนหลับของกลุ่มตัวอย่าง ตามคู่มือประเมินพฤติกรรมการหลับตื่นของทารกเกิดก่อนกำหนด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ paired t-test และสถิติWilcoxon Signed-rank test ผลการศึกษาพบว่า ทารกเกิดก่อนกำหนด ขณะที่ได้รับการดูแลแบบแกงการูมีค่าเฉลี่ยระยะเวลาการนอนหลับนานกว่าขณะที่ได้รับการ พยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนสมมติฐานการวิจัยและ เป็นไปตามข้อเสนอขององค์การอนามัยโลกที่ให้การดูแลแบบแกงการูเป็นระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 1 ชั่วโมงและควรทำการดูแลอย่างต่อเนื่องเพื่อประโยชน์สูงสุดของการดูแลแบบแกงการ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
ปรินาสุภา หอมสมบัติ
จริยา วิทยะศุภร
ทิพวัลย์ ดารามาศ
Parinasupa Homsombat
Jariya Wittayasooporn
Tipawan Daramas
format Article
author ปรินาสุภา หอมสมบัติ
จริยา วิทยะศุภร
ทิพวัลย์ ดารามาศ
Parinasupa Homsombat
Jariya Wittayasooporn
Tipawan Daramas
author_sort ปรินาสุภา หอมสมบัติ
title ผลของการดูแลแบบแกงการูต่อระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนกำหนด
title_short ผลของการดูแลแบบแกงการูต่อระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนกำหนด
title_full ผลของการดูแลแบบแกงการูต่อระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนกำหนด
title_fullStr ผลของการดูแลแบบแกงการูต่อระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนกำหนด
title_full_unstemmed ผลของการดูแลแบบแกงการูต่อระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนกำหนด
title_sort ผลของการดูแลแบบแกงการูต่อระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนกำหนด
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/56865
_version_ 1763495685114560512