รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research ; PAR) มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพพนักงานขับรภโดยสารองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับ ขั้นตอนการดำเนินงานแบ่งเป็น 4 ระยะคือ 1) การประเมินสถานการณ์ปัญหาด...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Research Report |
Language: | Thai |
Published: |
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58799 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.58799 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.587992023-04-12T15:39:52Z รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ Health care capacity development for bus drivers of Bangkok Mass Transit Authority อรวรรณ แก้วบุญชู ศุภรัตน์ ออประเสริฐ พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล ดวงรัตน์ อินทร สุรินธร กลัมพากร อาภาพร เผ่าวัฒนา สำลี สาลีกุล Orawan Kaewboonchoo Pimpan Silpasuwan Pipat Luksamijarulkul Duangrat Inthorn Surintorn Kalampakorn Arpaporn Powwattana มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาพยาบาลสาธารณสุข. มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยา. มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม. คนขับรถประจำทาง การดูแลตนเอง การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ การพัฒนาศักยภาพ การดูแลสุขภาพ พนักงานขับรถโดยสาร การวิจัยแบบมีส่วนร่วม การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research ; PAR) มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพพนักงานขับรภโดยสารองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับ ขั้นตอนการดำเนินงานแบ่งเป็น 4 ระยะคือ 1) การประเมินสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมการทำงาน 2) การพัฒนาแผนโครงการเพื่อแก้ปัญหา 3) การดำเนินงานตามแผนที่กำหนด และ 4) การติดตามประเมินผลโครงการระหว่างดำเนินการและเมื่อสิ้นสุดโครงการ เพื่อแสวงหาความรู้ใหม่จากบทเรียนที่ได้รับในการดำเนินโครงการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ให้วิธีการเชิงคุณภาพผสมผสานกับเชิงปริมาณ ได้แก่ การสังเกตการณ์และการจดบันทึกระหว่างการทำกิจกรรมต่างๆ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มเฉพาะ การใช้แบบสอบถาม และการตรวจคัดกรองสุขภาพ รวมทั้งการตรวจวัดสิ่งแวดล้อมการทำงาน และการตรวจวัดสุขาภิบาลอาหารและน้ำดื่ม ผลการวิจัยพบว่า PAR เป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการในการพัฒนาศักยภาพของผู้มีส่วนร่วมในโครงการวิจัยทุกระยะของการดำเนินงาน ส่งผลเชิงบวกในการพัฒนาความรู้และทักษะด้านต่างๆ ของแกนนำและนักวิจัยท้องถิ่น ซึ่งสมารถจัดได้เป็น 5 ระดับ คือ 1) ทักษะในการทำงานเป็นทีม 2) ทักษะในการกำหนดปัญหาของตนเองและองค์กร 3) ทักษะในการวางแผนแก้ไขปัญหา 4) ความสารถในการดำเนินงานตามแผน และ 5) การเพิ่มพลังอำนาในตนเอง กล่าวคือ พนักงานขับรถโดยสาร มีความสารถที่จะแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง จะเห็นได้ว่าการใช้ PAR มีความเหมาะสมอย่างยิ่งต่อการพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน ที่ขาดพลังอำนาจในตนเอง เช่นพนักงานขับรถโดยสาร Research design used in this study was participatory action research; PAR. The major purpose aimed at increasing health care capacity among Bangkok Mass Transit Authority (BMTA) bus drivers with emphasis on collaboration of BMTA staff at all level and researchers. Process of the study was divided into 4 phases, including assessment of health status and working environment, programs planning, implementations, and intervention evaluation. Re-planning and re-evaluation were done to get the information generated from the action implemented. Data collection was done by using qualitative and quantitative methods such as observing and field note during activities, in-depth interview, focus group, questionnaire, health screening, working environment assessment and food sanitation assessment. Results revealed that the PAR process had a positive effect on health care capacity development among BMTA bus drivers. Learning and creation of knowledge and skills are co-generated in PAR and taken place in several levels. The first level is developing the skill of team working. The second level is developing the ability to identify problems. The third level is competence of project planning. The fourth level is implementation competence. And the fifth level is empowerment; the participants discovered they have the ability to solve their own problems. The results showed that the PAR is highly suitable to develop the capacity of empowerless workers like bus drivers. โครงการความร่วมมือระหว่างสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สัญญาเลขที่ RDG4530029 2012-12-21T07:26:51Z 2020-09-29T03:05:04Z 2012-12-21T07:26:51Z 2020-09-29T03:05:04Z 2547 Research Report https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58799 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล 57.3 mb application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
คนขับรถประจำทาง การดูแลตนเอง การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ การพัฒนาศักยภาพ การดูแลสุขภาพ พนักงานขับรถโดยสาร การวิจัยแบบมีส่วนร่วม |
spellingShingle |
คนขับรถประจำทาง การดูแลตนเอง การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ การพัฒนาศักยภาพ การดูแลสุขภาพ พนักงานขับรถโดยสาร การวิจัยแบบมีส่วนร่วม อรวรรณ แก้วบุญชู ศุภรัตน์ ออประเสริฐ พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล ดวงรัตน์ อินทร สุรินธร กลัมพากร อาภาพร เผ่าวัฒนา สำลี สาลีกุล Orawan Kaewboonchoo Pimpan Silpasuwan Pipat Luksamijarulkul Duangrat Inthorn Surintorn Kalampakorn Arpaporn Powwattana รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ |
description |
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research ; PAR) มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพพนักงานขับรภโดยสารองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับ ขั้นตอนการดำเนินงานแบ่งเป็น 4 ระยะคือ 1) การประเมินสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมการทำงาน 2) การพัฒนาแผนโครงการเพื่อแก้ปัญหา 3) การดำเนินงานตามแผนที่กำหนด และ 4) การติดตามประเมินผลโครงการระหว่างดำเนินการและเมื่อสิ้นสุดโครงการ เพื่อแสวงหาความรู้ใหม่จากบทเรียนที่ได้รับในการดำเนินโครงการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ให้วิธีการเชิงคุณภาพผสมผสานกับเชิงปริมาณ ได้แก่ การสังเกตการณ์และการจดบันทึกระหว่างการทำกิจกรรมต่างๆ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มเฉพาะ การใช้แบบสอบถาม และการตรวจคัดกรองสุขภาพ รวมทั้งการตรวจวัดสิ่งแวดล้อมการทำงาน และการตรวจวัดสุขาภิบาลอาหารและน้ำดื่ม
ผลการวิจัยพบว่า PAR เป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการในการพัฒนาศักยภาพของผู้มีส่วนร่วมในโครงการวิจัยทุกระยะของการดำเนินงาน ส่งผลเชิงบวกในการพัฒนาความรู้และทักษะด้านต่างๆ ของแกนนำและนักวิจัยท้องถิ่น ซึ่งสมารถจัดได้เป็น 5 ระดับ คือ 1) ทักษะในการทำงานเป็นทีม 2) ทักษะในการกำหนดปัญหาของตนเองและองค์กร 3) ทักษะในการวางแผนแก้ไขปัญหา 4) ความสารถในการดำเนินงานตามแผน และ 5) การเพิ่มพลังอำนาในตนเอง กล่าวคือ พนักงานขับรถโดยสาร มีความสารถที่จะแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง จะเห็นได้ว่าการใช้ PAR มีความเหมาะสมอย่างยิ่งต่อการพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน ที่ขาดพลังอำนาจในตนเอง เช่นพนักงานขับรถโดยสาร |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาพยาบาลสาธารณสุข. |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาพยาบาลสาธารณสุข. อรวรรณ แก้วบุญชู ศุภรัตน์ ออประเสริฐ พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล ดวงรัตน์ อินทร สุรินธร กลัมพากร อาภาพร เผ่าวัฒนา สำลี สาลีกุล Orawan Kaewboonchoo Pimpan Silpasuwan Pipat Luksamijarulkul Duangrat Inthorn Surintorn Kalampakorn Arpaporn Powwattana |
format |
Research Report |
author |
อรวรรณ แก้วบุญชู ศุภรัตน์ ออประเสริฐ พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล ดวงรัตน์ อินทร สุรินธร กลัมพากร อาภาพร เผ่าวัฒนา สำลี สาลีกุล Orawan Kaewboonchoo Pimpan Silpasuwan Pipat Luksamijarulkul Duangrat Inthorn Surintorn Kalampakorn Arpaporn Powwattana |
author_sort |
อรวรรณ แก้วบุญชู |
title |
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ |
title_short |
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ |
title_full |
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ |
title_fullStr |
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ |
title_full_unstemmed |
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ |
title_sort |
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ |
publishDate |
2012 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58799 |
_version_ |
1781416710320947200 |