ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร

การมีสุขภาพดี เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพของ บุคคลจะก่อให้เกิดพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและการจัดการกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่เหมาะสม การวิจัยเชิงสำรวจ แบบตัดขวางนี้ มุ่งศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร โดยสุ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศิโรธร มะโนคา, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, Sirotorn Manokum, Manirat Therawiwat, Nirat Imamee
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60271
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60271
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
นักศึกษามหาวิทยาลัย
การรับรู้ความสามารถตนเอง
ค่านิยม
Health promotion behavior
University students
Perceived self-efficacy
Value
Journal of Health Education
spellingShingle พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
นักศึกษามหาวิทยาลัย
การรับรู้ความสามารถตนเอง
ค่านิยม
Health promotion behavior
University students
Perceived self-efficacy
Value
Journal of Health Education
ศิโรธร มะโนคา
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
Sirotorn Manokum
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร
description การมีสุขภาพดี เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพของ บุคคลจะก่อให้เกิดพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและการจัดการกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่เหมาะสม การวิจัยเชิงสำรวจ แบบตัดขวางนี้ มุ่งศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร โดยสุ่มศึกษาเฉพาะนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2560 ใน มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำนวน 320 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประกอบด้วย คำถามเกี่ยวกับข้อมูลคุณลักษณะส่วนบุคคลและสังคม ค่านิยม การรับรู้ความสามารถตนเอง ปัจจัยเอื้อ ปัจจัย เสริมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติพฤติกรรม และพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการทดสอบไค-สแควร์ (Chi - square) ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษากลุ่มตัวอย่างเป็นชายมากกว่าหญิง คือเป็นนักศึกษาชายร้อยละ 74.1 และนักศึกษาหญิงร้อยละ 25.9 มีอายุอยู่ระหว่าง 18-38 ปี อายุเฉลี่ย 21.7 ปี กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด คือ 20-24 ปี ร้อยละ 61.3 ส่วนใหญ่ ศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ร้อยละ 72.5 และระหว่างเรียนพักอยู่ที่หอพัก ร้อยละ 59.1 กลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายอยู่ในระดับที่ควรปรับปรุง ร้อยละ 76.3 และ 72.8 ตามลำดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างมีนัยสคัญทางสถิติ คือ ค่านิยมในการบริโภคอาหาร และ การรับรู้ความสามารถตนเองในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (p ≤ 0.05) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การรับรู้ความสามารถตนเองในการออกกำลังกาย ส่วนปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริมที่ศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กับทั้งพฤติกรรมการบริโภค อาหารและการออกกำลังกาย ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงควรจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของทุกคณะร่วมกัน โดยเฉพาะนักศึกษาใหม่และนักศึกษาต่อเนื่อง และเน้นกิจกรรมการสร้างค่านิยมและการรับรู้ความสามารถตนเองในการกระทำพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
ศิโรธร มะโนคา
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
Sirotorn Manokum
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
format Article
author ศิโรธร มะโนคา
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
Sirotorn Manokum
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
author_sort ศิโรธร มะโนคา
title ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร
title_short ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร
title_full ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร
title_fullStr ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร
title_sort ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60271
_version_ 1763498162513772544
spelling th-mahidol.602712023-03-30T11:39:49Z ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร Factors Related to Health Promotion Behaviors among Students in a University in Bangkok ศิโรธร มะโนคา มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ นิรัตน์ อิมามี Sirotorn Manokum Manirat Therawiwat Nirat Imamee มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. สาขาสาธารณสุขศาสตร์ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ นักศึกษามหาวิทยาลัย การรับรู้ความสามารถตนเอง ค่านิยม Health promotion behavior University students Perceived self-efficacy Value Journal of Health Education การมีสุขภาพดี เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพของ บุคคลจะก่อให้เกิดพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและการจัดการกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่เหมาะสม การวิจัยเชิงสำรวจ แบบตัดขวางนี้ มุ่งศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร โดยสุ่มศึกษาเฉพาะนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2560 ใน มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำนวน 320 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประกอบด้วย คำถามเกี่ยวกับข้อมูลคุณลักษณะส่วนบุคคลและสังคม ค่านิยม การรับรู้ความสามารถตนเอง ปัจจัยเอื้อ ปัจจัย เสริมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติพฤติกรรม และพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการทดสอบไค-สแควร์ (Chi - square) ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษากลุ่มตัวอย่างเป็นชายมากกว่าหญิง คือเป็นนักศึกษาชายร้อยละ 74.1 และนักศึกษาหญิงร้อยละ 25.9 มีอายุอยู่ระหว่าง 18-38 ปี อายุเฉลี่ย 21.7 ปี กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด คือ 20-24 ปี ร้อยละ 61.3 ส่วนใหญ่ ศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ร้อยละ 72.5 และระหว่างเรียนพักอยู่ที่หอพัก ร้อยละ 59.1 กลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายอยู่ในระดับที่ควรปรับปรุง ร้อยละ 76.3 และ 72.8 ตามลำดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างมีนัยสคัญทางสถิติ คือ ค่านิยมในการบริโภคอาหาร และ การรับรู้ความสามารถตนเองในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (p ≤ 0.05) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การรับรู้ความสามารถตนเองในการออกกำลังกาย ส่วนปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริมที่ศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กับทั้งพฤติกรรมการบริโภค อาหารและการออกกำลังกาย ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงควรจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของทุกคณะร่วมกัน โดยเฉพาะนักศึกษาใหม่และนักศึกษาต่อเนื่อง และเน้นกิจกรรมการสร้างค่านิยมและการรับรู้ความสามารถตนเองในการกระทำพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ Having good health is essential for good quality of life that health promotion will lead to suitable health promotion behaviors and the management of related factors of the individual. This cross-sectional survey research aimed to study factors related to health promotion behaviors of university students in Bangkok. Three hundred and twenty two first year students of a university in Bangkok in the academic year of 2017 were randomly selected. Data was collected using a selfadministered questionnaire comprised of questions about health promotion behaviors regarding dietary and exercise, general characteristics of the students, value, perceived self-efficacy, and enabling and reinforcing factors that related to the behavioral practices. Descriptive and Chi-square test statistic were used to analyze the data. Results of the study were as follows: there were male sample students than female with the percentage of 74.1 and 25.9 respectively; their age was between 18-38 years with the average age of 21.7 years and 61.3 percent were in the age group of 20-24 year; 72.5 percent were engineering students; and 59.1 percent lived in dormitory while studying at the university. Majority of the sample students, 76.3 and 72.8 percent, had the dietary and exercise health promotion behaviors at the low level that should be improved. Factors that significantly associated with the dietary behaviors were value in food consumption and self-efficacy to eat healthy food (p<0.05). Factor that significantly related to the exercise behaviors was selfefficacy to perform exercise (p<0.05). While enabling and reinforcing factors were not significantly related to both the dietary and exercise behaviors. Therefore, a university should launch health promotion activities for the first year students, specifically the freshly and continuing students of all Faculties. The value and self-efficacy enhancement regarding health promotion behaviors should be emphasized. 2020-12-02T07:13:10Z 2020-12-02T07:13:10Z 2563-12-02 2562 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 42, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2562), 146-156 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60271 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf