ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบึงบอน อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี

การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นมาตรการป้องกันและบริการฟรี ในการจัดบริการสุขภาพ แต่สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ยังเข้ารับการตรวจคัดกรองน้อย การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบึงบอน อำเภอหนองเสือ จังหวัด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุธิศา บุญรัตน์, ศรัณญา เบญจกุล, มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช, Suthisa Boonrat, Sarunya Benjakul, Mondha Kengganpanich, Tharadol Kengganpanich
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60278
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60278
record_format dspace
spelling th-mahidol.602782023-03-31T10:28:40Z ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบึงบอน อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี Effects of Promoting Program which Applies a Health Belief Model and Social Support on Cervical Cancer Screening at Bungborn Sub-district Health Promotion Hospital, Nongsua District, Patumthani Province สุธิศา บุญรัตน์ ศรัณญา เบญจกุล มณฑา เก่งการพานิช ธราดล เก่งการพานิช Suthisa Boonrat Sarunya Benjakul Mondha Kengganpanich Tharadol Kengganpanich มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ โปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ทฤษฏีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ แรงสนับสนุนทางสังคม Promotion Program on Cervical Cancer Screening Health Belief Model Social Support Journal of Health Education การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นมาตรการป้องกันและบริการฟรี ในการจัดบริการสุขภาพ แต่สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ยังเข้ารับการตรวจคัดกรองน้อย การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบึงบอน อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีอายุ 30-60 ปี จำนวน 66 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 33 คน กลุ่ม ทดลองได้รับโปรแกรมสุขศึกษานาน 6 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลก่อน - หลังการทดลองด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Paired t-test, Independent t-test และ Z-test ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรู้ความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก และการรับรู้ประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) และรับรู้อุปสรรคของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกลดลงกว่าก่อนการทดลอง และลดลงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) นอกจากนี้ กลุ่มทดลองมาเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (72.7% vs 36.4%, p=0.007) ดังนั้น โปรแกรมสุขศึกษา นี้สามารถช่วยให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี มาเข้ารับการตรวจคัดกรองมากขึ้น จึงควรบูรณาการไว้ ในงานประจำเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลต่อไป Cervical cancer screening is a preventive measure and free service in health care service. However, many women aged 30-60 years still fail to undergo screening tests. The purpose of this quasi-experimental research was to examine the effects of a promotion program applying a health belief model and social support on women’ s uptake of cervical cancer screening at Bungborn sub-district health promoting hospital, Nongsua district, Pathumthani province. A sample of 66 women, aged 30–60 years, was divided equally into experimental and comparison groups, (33 each). The experimental group received the program for 6-weeks. Data were collected at pre-and post-intervention program by interviews. Data were analyzed using descriptive statistics and inferential statistics, Paired t-test, Independent t-test and Z-test. The results revealed that, the experimental group were significantly higher score than the comparison group (p<0.001) in their perception of: susceptibility and severity of cervical cancer; the benefits of cervical cancer screening, and; lower score for perceived barriers to cervical cancer screening. Furthermore, the experimental group used the cervical cancer screening services significantly more than the comparison group (72.7% vs 36.4%, p=0.007). Thus, this program can encourage the women to cervical cancer screening and should integrate and apply in the normal schedule for preventive services in this and other sub-district health promoting hospitals 2020-12-11T17:28:50Z 2020-12-11T17:28:50Z 2563-12-12 2561 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 41, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2561), 90-101 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60278 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic โปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ทฤษฏีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
แรงสนับสนุนทางสังคม
Promotion Program on Cervical Cancer Screening
Health Belief Model
Social Support
Journal of Health Education
spellingShingle โปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ทฤษฏีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
แรงสนับสนุนทางสังคม
Promotion Program on Cervical Cancer Screening
Health Belief Model
Social Support
Journal of Health Education
สุธิศา บุญรัตน์
ศรัณญา เบญจกุล
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
Suthisa Boonrat
Sarunya Benjakul
Mondha Kengganpanich
Tharadol Kengganpanich
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบึงบอน อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
description การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นมาตรการป้องกันและบริการฟรี ในการจัดบริการสุขภาพ แต่สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ยังเข้ารับการตรวจคัดกรองน้อย การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบึงบอน อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีอายุ 30-60 ปี จำนวน 66 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 33 คน กลุ่ม ทดลองได้รับโปรแกรมสุขศึกษานาน 6 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลก่อน - หลังการทดลองด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Paired t-test, Independent t-test และ Z-test ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรู้ความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก และการรับรู้ประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) และรับรู้อุปสรรคของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกลดลงกว่าก่อนการทดลอง และลดลงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) นอกจากนี้ กลุ่มทดลองมาเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (72.7% vs 36.4%, p=0.007) ดังนั้น โปรแกรมสุขศึกษา นี้สามารถช่วยให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี มาเข้ารับการตรวจคัดกรองมากขึ้น จึงควรบูรณาการไว้ ในงานประจำเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลต่อไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
สุธิศา บุญรัตน์
ศรัณญา เบญจกุล
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
Suthisa Boonrat
Sarunya Benjakul
Mondha Kengganpanich
Tharadol Kengganpanich
format Article
author สุธิศา บุญรัตน์
ศรัณญา เบญจกุล
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
Suthisa Boonrat
Sarunya Benjakul
Mondha Kengganpanich
Tharadol Kengganpanich
author_sort สุธิศา บุญรัตน์
title ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบึงบอน อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
title_short ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบึงบอน อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
title_full ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบึงบอน อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
title_fullStr ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบึงบอน อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบึงบอน อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
title_sort ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบึงบอน อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60278
_version_ 1764209807984689152