การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารสุขภาพของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 57 คน ใช้วิธีการคัดเลือกตามเกณฑ์และสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 28 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 29 คน กลุ่มทดลองได้รับ กิจกรรมตามโปรแกรมส่งเสริ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ขวัญฉัตร์ ภิวัฒน์พงษ์กุล, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, Kwannchat Piwatphungkul, Manirat Therawiwat
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60283
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60283
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ทฤษฎีปัญญาสังคม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
นักเรียนชั้นประถมศึกษา
Social Cognitive Theory
Food Consumption Behaviors
Primary School Students
Journal of Health Education
spellingShingle ทฤษฎีปัญญาสังคม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
นักเรียนชั้นประถมศึกษา
Social Cognitive Theory
Food Consumption Behaviors
Primary School Students
Journal of Health Education
ขวัญฉัตร์ ภิวัฒน์พงษ์กุล
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
Kwannchat Piwatphungkul
Manirat Therawiwat
การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง
description การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารสุขภาพของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 57 คน ใช้วิธีการคัดเลือกตามเกณฑ์และสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 28 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 29 คน กลุ่มทดลองได้รับ กิจกรรมตามโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ที่ประยุกต์ตามกรอบทฤษฎีปัญญาสังคมเป็นเวลา 9 สัปดาห์ ประกอบด้วยกิจกรรมการสร้างเสริมความรู้โดยการบรรยายประกอบสไลด์และสื่อวิดิทัศน์ การทำกิจกรรมกลุ่มตามใบงาน นำเสนอและอภิปรายกลุ่ม การเรียนรู้ผ่านเกมเกี่ยวกับอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน การพัฒนาทักษะโดยการฝึกปฏิบัติการเลือกอาหารที่เหมาะสมและการประกอบอาหารทานเอง การแสดง บทบาทสมมุติ และการเรียนรู้จากตัวแบบจริงและสัญลักษณ์ การเขียนเรียงความ วาดภาพระบายสี และการ ได้รับคำชมเชย พูดจูงใจโดยผู้วิจัย การส่งข้อความกระตุ้นเตือนและคำแนะนำที่เหมาะสมเฉพาะรายบุคคล และการใช้สมุดกิจกรรมสื่อสารกับผู้ปกครอง เก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลองด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงมาตรฐาน Paired t-test และ Independent t-test ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทดลองมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร เจตคติต่อการบริโภคอาหาร การรับรู ้ความสามารถตนเองต่อการบริโภคอาหาร และพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ สูงกว่าก่อน การทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่p<0.05 สรุปได้ว่า โปรแกรมส่งเสริม พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคมมีผลทำให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีการ เปลี่ยนแปลงความรู้ เจตคติ การรับรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการถูกต้องมากขึ้น จึง สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์กับเด็กวัยเรียนกลุ่มอื่นที่มีบริบทใกล้เคียงกัน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเพื่อการมีสุขภาพที่ดี
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
ขวัญฉัตร์ ภิวัฒน์พงษ์กุล
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
Kwannchat Piwatphungkul
Manirat Therawiwat
format Article
author ขวัญฉัตร์ ภิวัฒน์พงษ์กุล
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
Kwannchat Piwatphungkul
Manirat Therawiwat
author_sort ขวัญฉัตร์ ภิวัฒน์พงษ์กุล
title การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง
title_short การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง
title_full การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง
title_fullStr การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง
title_full_unstemmed การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง
title_sort การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60283
_version_ 1763489066670620672
spelling th-mahidol.602832023-03-31T08:34:55Z การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง An Application of Social Cognitive Theory to Promote Healthy Food Consumption of Fifth Grade Students in One Elementary School in Rayong Province ขวัญฉัตร์ ภิวัฒน์พงษ์กุล มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ Kwannchat Piwatphungkul Manirat Therawiwat มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ ทฤษฎีปัญญาสังคม พฤติกรรมการบริโภคอาหาร นักเรียนชั้นประถมศึกษา Social Cognitive Theory Food Consumption Behaviors Primary School Students Journal of Health Education การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารสุขภาพของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 57 คน ใช้วิธีการคัดเลือกตามเกณฑ์และสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 28 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 29 คน กลุ่มทดลองได้รับ กิจกรรมตามโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ที่ประยุกต์ตามกรอบทฤษฎีปัญญาสังคมเป็นเวลา 9 สัปดาห์ ประกอบด้วยกิจกรรมการสร้างเสริมความรู้โดยการบรรยายประกอบสไลด์และสื่อวิดิทัศน์ การทำกิจกรรมกลุ่มตามใบงาน นำเสนอและอภิปรายกลุ่ม การเรียนรู้ผ่านเกมเกี่ยวกับอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน การพัฒนาทักษะโดยการฝึกปฏิบัติการเลือกอาหารที่เหมาะสมและการประกอบอาหารทานเอง การแสดง บทบาทสมมุติ และการเรียนรู้จากตัวแบบจริงและสัญลักษณ์ การเขียนเรียงความ วาดภาพระบายสี และการ ได้รับคำชมเชย พูดจูงใจโดยผู้วิจัย การส่งข้อความกระตุ้นเตือนและคำแนะนำที่เหมาะสมเฉพาะรายบุคคล และการใช้สมุดกิจกรรมสื่อสารกับผู้ปกครอง เก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลองด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงมาตรฐาน Paired t-test และ Independent t-test ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทดลองมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร เจตคติต่อการบริโภคอาหาร การรับรู ้ความสามารถตนเองต่อการบริโภคอาหาร และพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ สูงกว่าก่อน การทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่p<0.05 สรุปได้ว่า โปรแกรมส่งเสริม พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคมมีผลทำให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีการ เปลี่ยนแปลงความรู้ เจตคติ การรับรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการถูกต้องมากขึ้น จึง สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์กับเด็กวัยเรียนกลุ่มอื่นที่มีบริบทใกล้เคียงกัน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเพื่อการมีสุขภาพที่ดี The objective of this quasi-experimental research was to assess the effect of healthy food consumption promotion program for students in primary school level. The study samples were 57 fifth grade students who were selected by inclusion criteria and simple random sampling that divided into two groups: 28 students in the experimental group and 29 in the comparison group. The experimental group received the healthy food consumption program activities, that the framework of Social Cognitive Theory was applied, for 9 weeks.The activities comprised of knowledge enhancement by lecture with slides and VDO, doing group work with work sheet, discussion and presentation, and learning through food for student games. Suitable food selection skills development by food cooking practices; role playing; learning from live and symbolic models; painting; providing social support by researcher; individually sending reminding and advise; and using portfolio notebook with parents were included. Data was collected before and after experimentation using a self-administered questionnaire and analyzed by frequency, percent, mean standard deviation, Paired t-test, and Independent t-test. Results of the study showed that after the experiment, the experimental group gained significantly higher knowledge, attitude, selfefficacy, and practices regarding food consumption according to nutritional guidelines than before the experiment and higher than that of the comparison group with p<0.05.It should be concluded that the healthy food consumption program, that the Social Cognitive Theory was applied, affect the increasing of knowledge, attitude, self-efficacy, and suitable food consumption practices among the students. Therefore, it should be applied for other student groups who have similar context to enhance better food consumption for better health. 2020-12-14T02:24:12Z 2020-12-14T02:24:12Z 2563-12-14 2561 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 41, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2561), 168-180 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60283 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf