ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ย อายุระหว่าง 10-12 ปี

การวิจัยเชิงสำรวจแบบ Cross-sectional study ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ยอายุ 10-12 ปี อ.ชานุมาน จ.อำนาจเจริญ ประชากร จำนวน 710 คน คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Cluster Random Sampling กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เด็กเตี้ยและค่อนข้างเตี้ย อาย...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ติราพร ทองที, สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์, ทัศนีย์ รวิวรกุล, Tiraporm Thongtee, Suwat Srisorrachatr, Tassanee Rawiworrakul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60295
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60295
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic แบบแผนการบริโภคอาหาร
เด็กเตี้ย
ปัจจัยนำ
ปัจจัยเอื้อ
ปัจจัยเสริม
Eating Pattern
Stunting
Disposing Factors
Enabling Factors
Reinforcing Factors
spellingShingle แบบแผนการบริโภคอาหาร
เด็กเตี้ย
ปัจจัยนำ
ปัจจัยเอื้อ
ปัจจัยเสริม
Eating Pattern
Stunting
Disposing Factors
Enabling Factors
Reinforcing Factors
ติราพร ทองที
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์
ทัศนีย์ รวิวรกุล
Tiraporm Thongtee
Suwat Srisorrachatr
Tassanee Rawiworrakul
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ย อายุระหว่าง 10-12 ปี
description การวิจัยเชิงสำรวจแบบ Cross-sectional study ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ยอายุ 10-12 ปี อ.ชานุมาน จ.อำนาจเจริญ ประชากร จำนวน 710 คน คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Cluster Random Sampling กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เด็กเตี้ยและค่อนข้างเตี้ย อายุ 10-12 ปี จำนวน 183 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ (1) แบบคัดกรองเด็กเตี้ยและค่อนข้างเตี้ย (2) แบบสอบถามด้านปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม (3) แบบบันทึกอาหารบริโภค เป็นเวลา 3 วัน ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามปัจจัยนำด้านการรับรู้ปัจจัยส่งเสริมการเจริญเติบโตและด้านการบริโภคอาหาร เท่ากับ 0.705 ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Independent-sample t-test และ Chi-Square test. ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กเตี้ย-สมส่วน ร้อยละ 68.86 ผลการวิเคราะห์ ปัจจัยนำพบว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย ร้อยละ 56.83 อาศัยในครอบครัวเดี่ยว ร้อยละ 63.94 ด้านการรับรู้ ส่วนใหญ่มีระดับการรับรู้ดี (X ̅ =2.49-3.25) ร้อยละ 80.87 ปัจจัยเอื้อ เด็กได้รับเงินไปโรงเรียนน้อยกว่า/เท่ากับ 10 บาท ร้อยละ 57.37 นำเงินไปใช้จ่ายขนม ร้อยละ 88.50 กินอาหารกลางวันที่โรงเรียนจัดให้ทุกวัน ร้อยละ 94.00 ดื่มนมโรงเรียนเป็นบางวัน ร้อยละ 56.30 ปัจจัยเสริมส่วนใหญ่ผู้จัดเตรียมอาหารคือ แม่ ร้อยละ 85.79 เด็กได้รับการดูแลในการบริโภคอาหารจาก ผู้ปกครอง คือ จัดเตรียมอาหารไว้ให้ ส่วนเด็กจะกินหรือไม่นั้นตามใจเด็ก ร้อยละ 45.90 ส่วนใหญ่เด็กไม่ได้รับอาหาร ว่าง ร้อยละ 84.70 แบบแผนการบริโภคอาหาร เด็กเตี้ยทั้งหมดกินอาหารกลุ่มข้าว-แป้ง 3.83±0.88 ทัพพี ผัก 2.59±1.34 ช้อน ผลไม้ 0.53±0.66 ส่วน นมจืดครบส่วน 0.51±0.34 ส่วน และน้ำมัน 3.45±3.09 กรัม ต่ำกว่าส่วน บริโภคที่แนะนำตามกลุ่มอาหารของธงโภชนาการ ยกเว้นกลุ่มเนื้อสัตว์กินตามส่วนบริโภค 6.41±1.50 ช้อน เมื่อ เปรียบเทียบปริมาณการกินระหว่างเด็กเตี้ย-ผอม กับ เตี้ย-สมส่วน พบว่าเด็ก 2 กลุ่ม กินอาหารกลุ่มข้าว-แป้ง เนื้อสัตว์ และนมจืดครบส่วนแตกต่างกัน (p<0.05) โดยพบว่าเด็กเตี้ยทั้ง 2 กลุ่ม กินอาหารไม่เพียงพอ แต่เด็กเตี้ย-สมส่วน ยังกินอาหารในปริมาณที่ดีกว่าเด็กเตี้ย-ผอม ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบปัจจัยนำด้านเพศมีความสัมพันธ์กับ การได้รับโปรตีนและสังกะสี (p=0.02)
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา
ติราพร ทองที
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์
ทัศนีย์ รวิวรกุล
Tiraporm Thongtee
Suwat Srisorrachatr
Tassanee Rawiworrakul
format Article
author ติราพร ทองที
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์
ทัศนีย์ รวิวรกุล
Tiraporm Thongtee
Suwat Srisorrachatr
Tassanee Rawiworrakul
author_sort ติราพร ทองที
title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ย อายุระหว่าง 10-12 ปี
title_short ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ย อายุระหว่าง 10-12 ปี
title_full ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ย อายุระหว่าง 10-12 ปี
title_fullStr ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ย อายุระหว่าง 10-12 ปี
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ย อายุระหว่าง 10-12 ปี
title_sort ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ย อายุระหว่าง 10-12 ปี
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60295
_version_ 1763490808893276160
spelling th-mahidol.602952023-03-30T20:04:54Z ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ย อายุระหว่าง 10-12 ปี Factors Related to Eating Patterns among Stunting Children Aged 10-12 Years ติราพร ทองที สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์ ทัศนีย์ รวิวรกุล Tiraporm Thongtee Suwat Srisorrachatr Tassanee Rawiworrakul มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุข แบบแผนการบริโภคอาหาร เด็กเตี้ย ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม Eating Pattern Stunting Disposing Factors Enabling Factors Reinforcing Factors การวิจัยเชิงสำรวจแบบ Cross-sectional study ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนการบริโภคอาหารของเด็กเตี้ยอายุ 10-12 ปี อ.ชานุมาน จ.อำนาจเจริญ ประชากร จำนวน 710 คน คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Cluster Random Sampling กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เด็กเตี้ยและค่อนข้างเตี้ย อายุ 10-12 ปี จำนวน 183 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ (1) แบบคัดกรองเด็กเตี้ยและค่อนข้างเตี้ย (2) แบบสอบถามด้านปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม (3) แบบบันทึกอาหารบริโภค เป็นเวลา 3 วัน ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามปัจจัยนำด้านการรับรู้ปัจจัยส่งเสริมการเจริญเติบโตและด้านการบริโภคอาหาร เท่ากับ 0.705 ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Independent-sample t-test และ Chi-Square test. ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กเตี้ย-สมส่วน ร้อยละ 68.86 ผลการวิเคราะห์ ปัจจัยนำพบว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย ร้อยละ 56.83 อาศัยในครอบครัวเดี่ยว ร้อยละ 63.94 ด้านการรับรู้ ส่วนใหญ่มีระดับการรับรู้ดี (X ̅ =2.49-3.25) ร้อยละ 80.87 ปัจจัยเอื้อ เด็กได้รับเงินไปโรงเรียนน้อยกว่า/เท่ากับ 10 บาท ร้อยละ 57.37 นำเงินไปใช้จ่ายขนม ร้อยละ 88.50 กินอาหารกลางวันที่โรงเรียนจัดให้ทุกวัน ร้อยละ 94.00 ดื่มนมโรงเรียนเป็นบางวัน ร้อยละ 56.30 ปัจจัยเสริมส่วนใหญ่ผู้จัดเตรียมอาหารคือ แม่ ร้อยละ 85.79 เด็กได้รับการดูแลในการบริโภคอาหารจาก ผู้ปกครอง คือ จัดเตรียมอาหารไว้ให้ ส่วนเด็กจะกินหรือไม่นั้นตามใจเด็ก ร้อยละ 45.90 ส่วนใหญ่เด็กไม่ได้รับอาหาร ว่าง ร้อยละ 84.70 แบบแผนการบริโภคอาหาร เด็กเตี้ยทั้งหมดกินอาหารกลุ่มข้าว-แป้ง 3.83±0.88 ทัพพี ผัก 2.59±1.34 ช้อน ผลไม้ 0.53±0.66 ส่วน นมจืดครบส่วน 0.51±0.34 ส่วน และน้ำมัน 3.45±3.09 กรัม ต่ำกว่าส่วน บริโภคที่แนะนำตามกลุ่มอาหารของธงโภชนาการ ยกเว้นกลุ่มเนื้อสัตว์กินตามส่วนบริโภค 6.41±1.50 ช้อน เมื่อ เปรียบเทียบปริมาณการกินระหว่างเด็กเตี้ย-ผอม กับ เตี้ย-สมส่วน พบว่าเด็ก 2 กลุ่ม กินอาหารกลุ่มข้าว-แป้ง เนื้อสัตว์ และนมจืดครบส่วนแตกต่างกัน (p<0.05) โดยพบว่าเด็กเตี้ยทั้ง 2 กลุ่ม กินอาหารไม่เพียงพอ แต่เด็กเตี้ย-สมส่วน ยังกินอาหารในปริมาณที่ดีกว่าเด็กเตี้ย-ผอม ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบปัจจัยนำด้านเพศมีความสัมพันธ์กับ การได้รับโปรตีนและสังกะสี (p=0.02) The objectives of this cross-sectional study were to investigate factors related to eating patterns among stunting children aged between 10-12 years old in Chanuman District, Amnatcharoen Province. The population consisted of 710 children by sampling method was cluster random sampling. Samples were 183 stunting children, age 10-12 years. Data collection was performed by using stunting screening test, questionnaires about predisposing factors, enabling factors, reinforcing factors and food record 3-days. The reliability of questionnaires was 0.705. Analyzed by Independent-sample t-test and Chi-Square test. Results revealed that samples were stunted-normal weight children (68.86%). The analysis the predisposing factors, sample were male (56.83 %) and lived in single family (63.94%), factors of perceived, most children (80.87%), had good level of perception (average score of 2.49-3.25).With regard to the enabling factors, children received ≤10 baht per day and (88.50%) was paid for snacks and thay had their lunch at school every day (94.00%). drank school milk only in some days (56.30%). With regard to reinforcing factors, mothers mostly (85.79%) prepared food for children but they were free to eat as they please (45.90%). Most children didn’t receive snacks (84.70%). 3-days eating patterns showed that all stunting children gained the everage energy (977.35±205.60 kcal), protein (32.83±7.13 g), carbohydrate (154.41±33.38 g), fat (25.27±8.69g), calcium (215.29±49.35 g), and zince ( 3.61±0.86 g) lower than Dietary Reference Intake(DRI), and they ate rice (3.83±0.88 ladles), vegetable (2.59±1.34 spoons), fruit (0.53±0.66 parts), whole milk (0.51±0.34 parts) and oil (3.45±3.09g) lower than serving size according to the nutritional flag. except meats which were 6.41±1.50 spoons by serving size according to the nutritional flag. When comparing the eating patterns between stunted-underweight and stunted-normal weight children, it was found that the two groups of children gained different amount of average energy, protein, carbohydrate, fat, calcium, and zinc (p<0.05) and they had different eating patterns for rice, meat and whole milk (p<0.05). In summary, Two group of stunting children ate insufficient food, but stunted-normal weight children ate more quantity of food than stuntedunderweight children. The analysis of the relationship found that gender factors were related to protein and zinc intake. (p=0.02) 2020-12-17T16:51:33Z 2020-12-17T16:51:33Z 2563-12-17 2561 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 41, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2561), 138-153 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60295 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf