ผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชนชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตําบลบางเตยอําเภอเมือง จังหวัดพังงา

การพัฒนาทักษะชีวิตมีความจำเป็นในการช่วยให้บุคคลเลิกบุหรี่และป้องกันการสูบบุหรี่ได้ เป็นแนวทางหนึ่งในการป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาว...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เยาวรีย์ ดอเลาะ, มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช, ศรัณญา เบญจกุล, Yaowaree Doloh, Mondha Kengganpanich, Tharadol Kengganpanich, Sarunya Benjakul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60297
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60297
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การพัฒนาทักษะชีวิต
ความตั้งใจไม่สูบบุหรี่
เยาวชนชุมชนมุสลิม
Life skills development
Non-smoking intention
Muslim community youth
spellingShingle การพัฒนาทักษะชีวิต
ความตั้งใจไม่สูบบุหรี่
เยาวชนชุมชนมุสลิม
Life skills development
Non-smoking intention
Muslim community youth
เยาวรีย์ ดอเลาะ
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
ศรัณญา เบญจกุล
Yaowaree Doloh
Mondha Kengganpanich
Tharadol Kengganpanich
Sarunya Benjakul
ผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชนชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตําบลบางเตยอําเภอเมือง จังหวัดพังงา
description การพัฒนาทักษะชีวิตมีความจำเป็นในการช่วยให้บุคคลเลิกบุหรี่และป้องกันการสูบบุหรี่ได้ เป็นแนวทางหนึ่งในการป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชน ชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตำบลบางเตย อำเภอเมือง จังหวัดพังงา โดยศึกษาใน กลุ่มตัวอย่างเยาวชนอายุ 13–15 ปี จำนวน 35 คน กลุ่มตัวอย่างได้เข้าร่วมกิจกรรมตามขั้นตอนของ โปรแกรมที่ออกแบบโดยใช้แนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีกิจกรรมสุขศึกษาจำนวน 6 ครั้ง เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 8 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ Paired t-test และ Z-test ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ ทัศนคติ เกี่ยวกับบุหรี่ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับบุหรี่ ทักษะการตัดสินใจไม่สูบบุหรี่และการแก้ปัญหา ทักษะการปฏิเสธโดยไม่เสียสัมพันธภาพ มากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) คะแนนเฉลี่ยทักษะการตระหนักรู้ในตนเองเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ มากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (p=0.001) และมีสัดส่วนความตั้งใจไม่สูบบุหรี่จากร้อยละ 48.6 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 98.1 อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.001) แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมสุขศึกษามีผลทำให้เยาวชนอายุ 13-15 ปี มีความรู้ ทัศนคติ ทักษะ ชีวิตในการป้องกันการสูบบุหรี่ และความตั้งใจไม่สูบบุหรี่เพิ่มขึ้น ดังนั้น บุคลากรสุขภาพที่ทำงานในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และโรงเรียนควรพัฒนาโปรแกรมสุขศึกษาที่ประยุกต์ใช้แนวคิดทักษะชีวิต หลักศาสนาตามบริบทพื้นที่ และแนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ของเยาวชนมากขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
เยาวรีย์ ดอเลาะ
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
ศรัณญา เบญจกุล
Yaowaree Doloh
Mondha Kengganpanich
Tharadol Kengganpanich
Sarunya Benjakul
format Article
author เยาวรีย์ ดอเลาะ
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
ศรัณญา เบญจกุล
Yaowaree Doloh
Mondha Kengganpanich
Tharadol Kengganpanich
Sarunya Benjakul
author_sort เยาวรีย์ ดอเลาะ
title ผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชนชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตําบลบางเตยอําเภอเมือง จังหวัดพังงา
title_short ผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชนชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตําบลบางเตยอําเภอเมือง จังหวัดพังงา
title_full ผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชนชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตําบลบางเตยอําเภอเมือง จังหวัดพังงา
title_fullStr ผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชนชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตําบลบางเตยอําเภอเมือง จังหวัดพังงา
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชนชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตําบลบางเตยอําเภอเมือง จังหวัดพังงา
title_sort ผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชนชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตําบลบางเตยอําเภอเมือง จังหวัดพังงา
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60297
_version_ 1763489908724334592
spelling th-mahidol.602972023-03-31T06:03:38Z ผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชนชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตําบลบางเตยอําเภอเมือง จังหวัดพังงา Effects of Life Skill Development Program on Non-Smoking Intention in Youth of Banklang Muslim Community, Bangtoei Sub-District, Mueang District, Pang-Nga Province เยาวรีย์ ดอเลาะ มณฑา เก่งการพานิช ธราดล เก่งการพานิช ศรัณญา เบญจกุล Yaowaree Doloh Mondha Kengganpanich Tharadol Kengganpanich Sarunya Benjakul มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ การพัฒนาทักษะชีวิต ความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ เยาวชนชุมชนมุสลิม Life skills development Non-smoking intention Muslim community youth การพัฒนาทักษะชีวิตมีความจำเป็นในการช่วยให้บุคคลเลิกบุหรี่และป้องกันการสูบบุหรี่ได้ เป็นแนวทางหนึ่งในการป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในเยาวชน ชุมชนมุสลิมบ้านกลาง ตำบลบางเตย อำเภอเมือง จังหวัดพังงา โดยศึกษาใน กลุ่มตัวอย่างเยาวชนอายุ 13–15 ปี จำนวน 35 คน กลุ่มตัวอย่างได้เข้าร่วมกิจกรรมตามขั้นตอนของ โปรแกรมที่ออกแบบโดยใช้แนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีกิจกรรมสุขศึกษาจำนวน 6 ครั้ง เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 8 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ Paired t-test และ Z-test ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ ทัศนคติ เกี่ยวกับบุหรี่ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับบุหรี่ ทักษะการตัดสินใจไม่สูบบุหรี่และการแก้ปัญหา ทักษะการปฏิเสธโดยไม่เสียสัมพันธภาพ มากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) คะแนนเฉลี่ยทักษะการตระหนักรู้ในตนเองเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ มากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (p=0.001) และมีสัดส่วนความตั้งใจไม่สูบบุหรี่จากร้อยละ 48.6 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 98.1 อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.001) แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมสุขศึกษามีผลทำให้เยาวชนอายุ 13-15 ปี มีความรู้ ทัศนคติ ทักษะ ชีวิตในการป้องกันการสูบบุหรี่ และความตั้งใจไม่สูบบุหรี่เพิ่มขึ้น ดังนั้น บุคลากรสุขภาพที่ทำงานในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และโรงเรียนควรพัฒนาโปรแกรมสุขศึกษาที่ประยุกต์ใช้แนวคิดทักษะชีวิต หลักศาสนาตามบริบทพื้นที่ และแนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ของเยาวชนมากขึ้น Life skills development provides young people with good life skills to face with smoking problems and to adapt themselves living in community environment that may lead to smoking initiation. This research aimed to measure the effects of life skills development programs on nonsmoking intentions among youth in Banklang Muslim community, Bangtoei Subdistrict, Mueang District, Pang-Nga Province. This research was a one-group quasi-experimental design. Samples were 35 youths aged 13-15 years. Participants participated in the program activities applying Participatory Action Research (PAR) with six sessions of health education for 8 weeks. Data were collected after the 8th week and were analyzed by descriptive statistics, frequency, percentage, mean, Paired t-test and Z-test. The results showed that after the experiment, the samples had an average mean of knowledge on cigarettes, attitude about cigarettes, critical thinking skills for cigarettes, decision making skills for nonsmoking and problem solving, refusal skills without losing relationship and proportion of non-smoking intentions higher than before the experiment significantly (p <0.001), and also smoking self-efficacy skills (p=0.001). Moreover, the proportion of non-smoking intention was higher from 48.6% to 98.1% respectively (p<0.001). These results showed that the health education program had a positive effect on increasing knowledge, attitude, life skills and non-smoking intention among youth aged 13-15 years. Therefore, community, local health office, and school should develop the health education program that apply life skills, religious discipline and concept of Participatory Action Research (PAR) to make the community more involved to solve smoking problem among youth. 2020-12-17T17:22:03Z 2020-12-17T17:22:03Z 2563-12-18 2560 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 40, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2560), 10-21 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60297 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf