โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดนนทบุรี
การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหาร ประยุกต์แบบจำลอง ข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 70 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 35 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสุขศึกษา...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60615 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.60615 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ผู้ป่วยเบาหวาน การบริโภคอาหาร แบบจำลองการให้ข้อมูลข่าวสาร การสร้างแรงจูงใจ การพัฒนาทักษะ Diabets patient Food consumption Information motivation Behavioral skills model |
spellingShingle |
ผู้ป่วยเบาหวาน การบริโภคอาหาร แบบจำลองการให้ข้อมูลข่าวสาร การสร้างแรงจูงใจ การพัฒนาทักษะ Diabets patient Food consumption Information motivation Behavioral skills model ศุภัชฌา สุดใจ มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล นิรัตน์ อิมาม Supuscha Sudjai Manirat Therawiwat Supreya Tunsakul Nirat Imamee โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดนนทบุรี |
description |
การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหาร ประยุกต์แบบจำลอง
ข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 70 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 35 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสุขศึกษา
จำนวน 7 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที ระยะเวลาทดลองใช้ 13 สัปดาห์ ประกอบไปด้วย 1.การให้ข้อมูลข่าวสาร ได้แก่ การให้ความรู้เรื่องอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 2.การสร้างแรงจูงใจ ได้แก่ การสร้างแรงจูงใจส่วนบุคคล โดยเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ป่วยอื่นในการบริโภคอาหาร สำหรับการสร้างแรงจูงใจทางสังคม โดยการโทรศัพท์ติดตามจากผู้วิจัย 2 ครั้ง และการติดตามเยี่ยมบ้าน 1 ครั้ง จากผู้วิจัยและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.การพัฒนาทักษะพฤติกรรม ได้แก่ การสาธิตการเลือกอาหารที่เหมาะสม การฝึกปฏิบัติจัดเมนูอาหารการอ่านฉลากโภชนาการ และการสังเกตจากตัวแบบ ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับบริการตามปกติ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย, Independent sample’s t-test และPair sample’s t-test ผลการศึกษา พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลอง มีความรู้เรื่องอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน การรับรู้ความสามารถตนเองในการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง ความคาดหวังในผลดีจากการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพดีขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองและดีขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ค่าเฉลี่ยของระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหารเช้า ของกลุ่มทดลองลดลงกว่าก่อนการทดลองและลดลงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย โปรแกรมนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพและโรคเรื้อรังอื่น ๆ เพื่อนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ ศุภัชฌา สุดใจ มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล นิรัตน์ อิมาม Supuscha Sudjai Manirat Therawiwat Supreya Tunsakul Nirat Imamee |
format |
Article |
author |
ศุภัชฌา สุดใจ มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล นิรัตน์ อิมาม Supuscha Sudjai Manirat Therawiwat Supreya Tunsakul Nirat Imamee |
author_sort |
ศุภัชฌา สุดใจ |
title |
โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดนนทบุรี |
title_short |
โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดนนทบุรี |
title_full |
โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดนนทบุรี |
title_fullStr |
โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดนนทบุรี |
title_full_unstemmed |
โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดนนทบุรี |
title_sort |
โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดนนทบุรี |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60615 |
_version_ |
1763494060102778880 |
spelling |
th-mahidol.606152023-03-31T08:36:27Z โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดนนทบุรี A Promotion Program for Food Consumption Applied Information Motivation and Behavioral Skills Model of Diabetes Patients, Nonthaburi Province ศุภัชฌา สุดใจ มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล นิรัตน์ อิมาม Supuscha Sudjai Manirat Therawiwat Supreya Tunsakul Nirat Imamee มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ ผู้ป่วยเบาหวาน การบริโภคอาหาร แบบจำลองการให้ข้อมูลข่าวสาร การสร้างแรงจูงใจ การพัฒนาทักษะ Diabets patient Food consumption Information motivation Behavioral skills model การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหาร ประยุกต์แบบจำลอง ข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 70 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 35 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสุขศึกษา จำนวน 7 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที ระยะเวลาทดลองใช้ 13 สัปดาห์ ประกอบไปด้วย 1.การให้ข้อมูลข่าวสาร ได้แก่ การให้ความรู้เรื่องอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 2.การสร้างแรงจูงใจ ได้แก่ การสร้างแรงจูงใจส่วนบุคคล โดยเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ป่วยอื่นในการบริโภคอาหาร สำหรับการสร้างแรงจูงใจทางสังคม โดยการโทรศัพท์ติดตามจากผู้วิจัย 2 ครั้ง และการติดตามเยี่ยมบ้าน 1 ครั้ง จากผู้วิจัยและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.การพัฒนาทักษะพฤติกรรม ได้แก่ การสาธิตการเลือกอาหารที่เหมาะสม การฝึกปฏิบัติจัดเมนูอาหารการอ่านฉลากโภชนาการ และการสังเกตจากตัวแบบ ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับบริการตามปกติ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย, Independent sample’s t-test และPair sample’s t-test ผลการศึกษา พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลอง มีความรู้เรื่องอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน การรับรู้ความสามารถตนเองในการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง ความคาดหวังในผลดีจากการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพดีขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองและดีขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ค่าเฉลี่ยของระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหารเช้า ของกลุ่มทดลองลดลงกว่าก่อนการทดลองและลดลงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย โปรแกรมนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพและโรคเรื้อรังอื่น ๆ เพื่อนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป This quasi-experimental research was aimed at studying the effect of a promotion program for food a consumption applied information motivation and behavioral skills model of diabetes patients, in Nonthaburi Province. The samples were composed of 70 Type 2 diabetes patients, 35 each in the experimental and the comparison groups. The experimental group participated in the health education activities for 7 sessions, 90 minutes per session. The program lasted for 13 weeks and composed of: disseminating information through educating participants about appropriate food for diabetes patients; 2. Developing motivation through personal motivation by having patients exchanged opinions and experiences with other diabetes patients as well as developing social motivation by giving patients 2 follow-up telephone calls by the researcher including making home-visits by public health personnel; 3. Developing behavioral skills through a demonstration of appropriate food selection, drilling of the menu setting, reading food labels, and observing the models presented. For the comparison group, the patients received normal health services. The researcher collected data by using the interviewing-schedule and descriptive statistics, Independent sample’s t-test and Paired sample’s t-test were used for data analysis. The research results showed that after the experimentation, the experimentation group gained significantly higher level of knowledge about appropriate food for diabetes patients; perceived self-efficacy to consume appropriate foods; outcome expectation of the benefits from appropriate food consumption; and appropriate food consumption behavior than the comparison group (p-value<0.001). The average fasting blood level of the experimental group was found to significantly lower than before the program and that of comparison group (p-value<0.001). Thus, it was recommended that this type of this program should be applied to Type 2 diabetes patients in order to promote appropriate food consumption behaviors as well as to other chronic patients with the aim of developing better lifestyles for the patients. 2020-12-30T00:44:08Z 2020-12-30T00:44:08Z 2563-12-30 2559 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 39, ฉบับที่ 132 (ม.ค.- มิ.ย. 2559), 35-50 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60615 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |