ผลของโปรแกรมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดสมุทรปราการ

การวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการบริโภคอาหาร ประยุกต์แบบจำลอง ข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 25 คน กลุ่ม ทดลองได้รับโปรแกรมที่พัฒนา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อนุชาติ สร้อยปัสสา, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, Anuchart Soypatsa, Manirat Therawiwat, Nirat Imamee
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60616
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60616
record_format dspace
spelling th-mahidol.606162023-03-30T19:13:25Z ผลของโปรแกรมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดสมุทรปราการ The Effect of Food Consumption Program Applied Information Motivation and Behavioral Skills Model on Blood Sugar Level Control of Diabetes Patients, Samutprakan Province อนุชาติ สร้อยปัสสา มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ นิรัตน์ อิมามี Anuchart Soypatsa Manirat Therawiwat Nirat Imamee มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ ผู้ป่วยเบาหวาน พฤติกรรมการบริโภคอาหาร รูปแบบการให้ข้อมูลข่าวสาร แรงจูงใจ ทักษะ พฤติกรรม Diabetes patient Food consumption behavioral Information motivation Behavioral skills model การวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการบริโภคอาหาร ประยุกต์แบบจำลอง ข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 25 คน กลุ่ม ทดลองได้รับโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นโดยประยุกต์แบบจำลอง ข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะพฤติกรรม และ ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเอง กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการดูแลตามระบบบริการปกติของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired sample’s t-test และ Independent t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การรับรู้ ความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในผลดี และพฤติกรรมการบริโภคอาหารดีขึ้นมากกว่าก่อนการ ทดลองและดีขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ค่าเฉลี่ยระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) ของกลุ่มทดลองลดลงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) และลดลงกว่ากลุ่ม เปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.003) สรุปว่าโปรแกรมสุขศึกษา มีประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคอาหารและลดระดับน้ำตาลในเลือด ข้อเสนอแนะ โปรแกรมนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ กับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารและควบคุมระดับน้ำตาล This quasi-experimental research design aimed to investigate the effectiveness of the application of information motivation and behavioral skills model for food consumption on blood sugar level control of diabetes patients, Samutprakan Province.The samples were composed of the type 2 diabetes patients 50 cases, with 25 cases each in the experimental and the comparison groups. The experimental group participated in the program developed by applying the information motivation and behavioral skills model and self-efficacy theory while the comparison group received a regular program from the Sub-district Health Promoting Hospital. The experimentation was lasted for 12 weeks. Data collection was done by using the interviewing schedule. Data were analyzed by using frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, Paired sample t-test, and Independent t-test. The research results showed that after the experimental group significantly higher levels of knowledge of food consumption, perceived self-efficacy, outcome expectations, food consumption behavioral, better than before the experimentation and the comparison group (p<0.001) and the significantly lower level of blood sugar was found in the experimental group than before the experimentation (p<0.001) and the comparison group (p=0.003). Concluded that the health education program effectiveness in changing food consumption and reduce blood sugar levels. Thus, this type of program should be applied with type 2 diabetic patients in promoting food consumption behavioral and order to control blood sugar level. 2020-12-30T00:54:37Z 2020-12-30T00:54:37Z 2563-12-30 2559 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 39, ฉบับที่ 132 (ม.ค.- มิ.ย. 2559), 51-63 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60616 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผู้ป่วยเบาหวาน
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
รูปแบบการให้ข้อมูลข่าวสาร
แรงจูงใจ
ทักษะ พฤติกรรม
Diabetes patient
Food consumption behavioral
Information motivation
Behavioral skills model
spellingShingle ผู้ป่วยเบาหวาน
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
รูปแบบการให้ข้อมูลข่าวสาร
แรงจูงใจ
ทักษะ พฤติกรรม
Diabetes patient
Food consumption behavioral
Information motivation
Behavioral skills model
อนุชาติ สร้อยปัสสา
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
Anuchart Soypatsa
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
ผลของโปรแกรมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดสมุทรปราการ
description การวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการบริโภคอาหาร ประยุกต์แบบจำลอง ข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 25 คน กลุ่ม ทดลองได้รับโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นโดยประยุกต์แบบจำลอง ข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะพฤติกรรม และ ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเอง กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการดูแลตามระบบบริการปกติของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired sample’s t-test และ Independent t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การรับรู้ ความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในผลดี และพฤติกรรมการบริโภคอาหารดีขึ้นมากกว่าก่อนการ ทดลองและดีขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ค่าเฉลี่ยระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) ของกลุ่มทดลองลดลงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) และลดลงกว่ากลุ่ม เปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.003) สรุปว่าโปรแกรมสุขศึกษา มีประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคอาหารและลดระดับน้ำตาลในเลือด ข้อเสนอแนะ โปรแกรมนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ กับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารและควบคุมระดับน้ำตาล
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
อนุชาติ สร้อยปัสสา
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
Anuchart Soypatsa
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
format Article
author อนุชาติ สร้อยปัสสา
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
Anuchart Soypatsa
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
author_sort อนุชาติ สร้อยปัสสา
title ผลของโปรแกรมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดสมุทรปราการ
title_short ผลของโปรแกรมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดสมุทรปราการ
title_full ผลของโปรแกรมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดสมุทรปราการ
title_fullStr ผลของโปรแกรมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดสมุทรปราการ
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดสมุทรปราการ
title_sort ผลของโปรแกรมการบริโภคอาหารประยุกต์แบบจําลองข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดสมุทรปราการ
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60616
_version_ 1763491166721933312