การประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร

การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐ แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตามกรอบทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและทฤษฎีการรับรู้ ความสามารถแห่งตนเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ระดับการติด นิโคติน ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พิทยา สังข์แก้ว, มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช, ศรัณญา เบญจกุล, นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Pittaya Sangkaew, Mondha Kengganpanich, Tharadol Kengganpanich, Sarunya Benjakul, Nareemarn Neelapaichit
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60620
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60620
record_format dspace
spelling th-mahidol.606202023-03-31T04:34:04Z การประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร An Assessment of Smoking Behavior among Workers in A Public Hospital in Bangkok Metropolitan พิทยา สังข์แก้ว มณฑา เก่งการพานิช ธราดล เก่งการพานิช ศรัณญา เบญจกุล นรีมาลย์ นีละไพจิตร Pittaya Sangkaew Mondha Kengganpanich Tharadol Kengganpanich Sarunya Benjakul Nareemarn Neelapaichit มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพชุมชน พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทฤษฎีความสามารถแห่งตน Smoking behavior Stage of change Self-Efficacy Theory การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐ แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตามกรอบทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและทฤษฎีการรับรู้ ความสามารถแห่งตนเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ระดับการติด นิโคติน ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการรับรู้ความสามารถตนเองในการเลิกบุหรี่ในคนงานจำนวน 33 คน ข้อมูลนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาและนำเสนอเชิงพรรณนาและตารางแจกแจงความถี่ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง 33 คน สูบบุหรี่ทุกคนเฉลี่ยวันละ 8.82 มวน/วัน อายุที่เริ่มสูบ เฉลี่ย 18.76 ปี สูบมานานเฉลี่ย 38 ปี และร้อยละ 94 ดื่มเหล้า/เบียร์ โดยจะสูบบุหรี่หลังรับประทาน อาหารมากที่สุด (ร้อยละ 81.8) เหตุผลที่สูบเพื่อคลายเครียด (ร้อยละ 42.4) ผู้สูบมีระดับการติดนิโคตินอยู่ ระดับต่ำ ร้อยละ 39.4 รองลงมาคือปานกลาง ร้อยละ 30.3 และสูง ร้อยละ 15.2 ระดับขั้นตอนการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ อยู่ในขั้นลังเลใจ/ชั่งใจ (Comtemplation) ร้อยละ 66.6 และยังไม่คิด จะเลิกบุหรี่แน่นอน (Precontemplation) ร้อยละ 18.2 ทุกระดับการติดนิโคตินส่วนใหญ่อยู่ในขั้นลังเลใจ/ ชั่งใจในการเลิกสูบร้อยละ 60-80 การรับรู้ความสามารถตนเองอยู่ในระดับต่ำร้อยละ 63.7 และปานกลาง ร้อยละ 27.3 ผู้สูบบุหรี่ที่อยู่ในขั้นไม่สนใจเลิกและขั้นลังเลใจ ส่วนใหญ่มีระดับการรับรู้ความสามารถตนเอง ต่ำ สำหรับความคาดหวังในผลลัพธ์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 66.7 และปานกลางร้อยละ 33.3 ผู้สูบ บุหรี่ที่มีการรับรู้ความสามารถตนเองในการเลิกบุหรี่ทั้งระดับต่ำ ปานกลางและสูง ล้วนมีความคาดหวังใน ผลลัพธ์ของการเลิกบุหรี่อยู่ในระดับสูงมากกว่าร้อยละ 60 ฉะนั้นผู้รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ ควรประเมินขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและสร้างการรับรู้ความสามารถตนเองให้สูงขึ้น This descriptive study was to assess smoking behavior of workers for a public hospital in Bangkok metropolitan according to Stage of Change Theory and Self-Efficacy Theory. The data were collected by questionnaire in 33 workers about smoking behavior, level of nicotine dependence, stage of behavior change and their self efficacies for quitting smoking. Data were analyzed using descriptive statistics and reported using frequencies tabulation. The study showed that all samples were daily smokers who smoked averagely 8.82 cigarettes/day, 18.76 years of the mean age of first smoking, 38 years of the mean duration of smoking, and 94 percent also drink alcohol/beer. Most of them smoked after meal (81.8 percent) with the reasons of stress (42.4 percent). Fagerstrom Test for Nicotine Dependence (FTND) found that 39.4% of smokers were in low level of nicotine dependence, 30.3% of moderate level and 15.2% of low level. For stage of change, 66.6% were in contemplation stage and 18.% were in precontemplation stage. All level of nicotine dependence were mostly in contemplation stage around 60-80%. Self-efficacy perception was in low level, 63.7% and moderate level, 27.3%. Mostly smokers who were in precontemplation and contemplation stage and they had low selfefficacy perception and high outcome expectation of 66.7%. All smokers who had low, moderate and high self-efficacy perception, had high outcome expectation more than 60%. Therefore, quit smoking activities should assess stage of behavioral change and raise up higher self-efficacy. 2020-12-30T01:38:10Z 2020-12-30T01:38:10Z 2563-12-30 2558 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 38, ฉบับที่ 130 (พ.ค.- ส.ค. 2558), 4-16 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60620 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic พฤติกรรมการสูบบุหรี่
ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ทฤษฎีความสามารถแห่งตน
Smoking behavior
Stage of change
Self-Efficacy Theory
spellingShingle พฤติกรรมการสูบบุหรี่
ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ทฤษฎีความสามารถแห่งตน
Smoking behavior
Stage of change
Self-Efficacy Theory
พิทยา สังข์แก้ว
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
ศรัณญา เบญจกุล
นรีมาลย์ นีละไพจิตร
Pittaya Sangkaew
Mondha Kengganpanich
Tharadol Kengganpanich
Sarunya Benjakul
Nareemarn Neelapaichit
การประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
description การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐ แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตามกรอบทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและทฤษฎีการรับรู้ ความสามารถแห่งตนเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ระดับการติด นิโคติน ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการรับรู้ความสามารถตนเองในการเลิกบุหรี่ในคนงานจำนวน 33 คน ข้อมูลนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาและนำเสนอเชิงพรรณนาและตารางแจกแจงความถี่ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง 33 คน สูบบุหรี่ทุกคนเฉลี่ยวันละ 8.82 มวน/วัน อายุที่เริ่มสูบ เฉลี่ย 18.76 ปี สูบมานานเฉลี่ย 38 ปี และร้อยละ 94 ดื่มเหล้า/เบียร์ โดยจะสูบบุหรี่หลังรับประทาน อาหารมากที่สุด (ร้อยละ 81.8) เหตุผลที่สูบเพื่อคลายเครียด (ร้อยละ 42.4) ผู้สูบมีระดับการติดนิโคตินอยู่ ระดับต่ำ ร้อยละ 39.4 รองลงมาคือปานกลาง ร้อยละ 30.3 และสูง ร้อยละ 15.2 ระดับขั้นตอนการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ อยู่ในขั้นลังเลใจ/ชั่งใจ (Comtemplation) ร้อยละ 66.6 และยังไม่คิด จะเลิกบุหรี่แน่นอน (Precontemplation) ร้อยละ 18.2 ทุกระดับการติดนิโคตินส่วนใหญ่อยู่ในขั้นลังเลใจ/ ชั่งใจในการเลิกสูบร้อยละ 60-80 การรับรู้ความสามารถตนเองอยู่ในระดับต่ำร้อยละ 63.7 และปานกลาง ร้อยละ 27.3 ผู้สูบบุหรี่ที่อยู่ในขั้นไม่สนใจเลิกและขั้นลังเลใจ ส่วนใหญ่มีระดับการรับรู้ความสามารถตนเอง ต่ำ สำหรับความคาดหวังในผลลัพธ์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 66.7 และปานกลางร้อยละ 33.3 ผู้สูบ บุหรี่ที่มีการรับรู้ความสามารถตนเองในการเลิกบุหรี่ทั้งระดับต่ำ ปานกลางและสูง ล้วนมีความคาดหวังใน ผลลัพธ์ของการเลิกบุหรี่อยู่ในระดับสูงมากกว่าร้อยละ 60 ฉะนั้นผู้รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ ควรประเมินขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและสร้างการรับรู้ความสามารถตนเองให้สูงขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
พิทยา สังข์แก้ว
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
ศรัณญา เบญจกุล
นรีมาลย์ นีละไพจิตร
Pittaya Sangkaew
Mondha Kengganpanich
Tharadol Kengganpanich
Sarunya Benjakul
Nareemarn Neelapaichit
format Article
author พิทยา สังข์แก้ว
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
ศรัณญา เบญจกุล
นรีมาลย์ นีละไพจิตร
Pittaya Sangkaew
Mondha Kengganpanich
Tharadol Kengganpanich
Sarunya Benjakul
Nareemarn Neelapaichit
author_sort พิทยา สังข์แก้ว
title การประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
title_short การประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
title_full การประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
title_fullStr การประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed การประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
title_sort การประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนงานโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60620
_version_ 1763492216044519424