ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความปวดแรกรับ ณ ห้องฉุกเฉิน ความรุนแรงของการบาดเจ็บ การใช้สารเสพติด และภาวะโรคร่วม ต่อความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล รูปแบบการวิจัย: การวิจัยความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อติภัทร พรมสมบัติ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรพรรณ โตสิงห์, จตุพร ศิริกุล, Atiphat Promsombut, Suporn Danaidutsadeekul, Orapan Thosingha, Jatuporn Sirikun
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60624
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60624
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความปวดเฉียบพลัน
การบาดเจ็บ
การใช้สารเสพติด
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
acute pain
injuries
substance use
spellingShingle ความปวดเฉียบพลัน
การบาดเจ็บ
การใช้สารเสพติด
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
acute pain
injuries
substance use
อติภัทร พรมสมบัติ
สุพร ดนัยดุษฎีกุล
อรพรรณ โตสิงห์
จตุพร ศิริกุล
Atiphat Promsombut
Suporn Danaidutsadeekul
Orapan Thosingha
Jatuporn Sirikun
ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความปวดแรกรับ ณ ห้องฉุกเฉิน ความรุนแรงของการบาดเจ็บ การใช้สารเสพติด และภาวะโรคร่วม ต่อความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล รูปแบบการวิจัย: การวิจัยความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่เข้ารับการรักษาในห้องฉุกเฉิน และหอผู้ป่วยศัลยกรรมของโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ในจังหวัดสระบุรีและลพบุรี จำนวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินข้อมูลการบาดเจ็บและการรักษา แบบประเมินความรุนแรงของการบาดเจ็บ แบบประเมินการใช้สารเสพติด แบบประเมินภาวะโรคร่วม และแบบประเมินความปวดแบบย่อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความรุนแรงของความปวดก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาลระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 4.53, SD = 1.30) คะแนนการรบกวนของความปวดระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 5.42, SD = 1.52) ความปวดแรกรับ ณ ห้องฉุกเฉินระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 6.82, SD = 1.99) ความรุนแรงของการบาดเจ็บระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 12.46, SD = 4.84) มีการใช้สารเสพติดร้อยละ 55.30 มีภาวะโรคร่วมร้อยละ 18.80 ความรุนแรงของการบาดเจ็บและการใช้สารเสพติดสามารถทำนายความรุนแรงของความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (gif.latex?\beta = .373, p < .001, and gif.latex?\beta = .304, p < .001 ตามลำดับ) แต่ความปวดแรกรับ ณ ห้องฉุกเฉิน และภาวะโรคร่วมไม่สามารถทำนายได้ สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ความรุนแรงของการบาดเจ็บและการใช้สารเสพติดสามารถทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล ดังนั้นพยาบาลควรตระหนักถึงความปวดเฉียบพลันและจัดการความปวดที่เหมาะสมในกลุ่มที่มีการบาดเจ็บรุนแรง และผู้ป่วยที่ใช้สารเสพติด
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
อติภัทร พรมสมบัติ
สุพร ดนัยดุษฎีกุล
อรพรรณ โตสิงห์
จตุพร ศิริกุล
Atiphat Promsombut
Suporn Danaidutsadeekul
Orapan Thosingha
Jatuporn Sirikun
format Article
author อติภัทร พรมสมบัติ
สุพร ดนัยดุษฎีกุล
อรพรรณ โตสิงห์
จตุพร ศิริกุล
Atiphat Promsombut
Suporn Danaidutsadeekul
Orapan Thosingha
Jatuporn Sirikun
author_sort อติภัทร พรมสมบัติ
title ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล
title_short ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล
title_full ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล
title_fullStr ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล
title_full_unstemmed ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล
title_sort ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60624
_version_ 1763493910823305216
spelling th-mahidol.606242023-03-30T13:31:27Z ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล Factors Predicting Pain in Trauma Patients before Hospital Discharge อติภัทร พรมสมบัติ สุพร ดนัยดุษฎีกุล อรพรรณ โตสิงห์ จตุพร ศิริกุล Atiphat Promsombut Suporn Danaidutsadeekul Orapan Thosingha Jatuporn Sirikun มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ความปวดเฉียบพลัน การบาดเจ็บ การใช้สารเสพติด วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand acute pain injuries substance use วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความปวดแรกรับ ณ ห้องฉุกเฉิน ความรุนแรงของการบาดเจ็บ การใช้สารเสพติด และภาวะโรคร่วม ต่อความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล รูปแบบการวิจัย: การวิจัยความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่เข้ารับการรักษาในห้องฉุกเฉิน และหอผู้ป่วยศัลยกรรมของโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ในจังหวัดสระบุรีและลพบุรี จำนวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินข้อมูลการบาดเจ็บและการรักษา แบบประเมินความรุนแรงของการบาดเจ็บ แบบประเมินการใช้สารเสพติด แบบประเมินภาวะโรคร่วม และแบบประเมินความปวดแบบย่อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความรุนแรงของความปวดก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาลระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 4.53, SD = 1.30) คะแนนการรบกวนของความปวดระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 5.42, SD = 1.52) ความปวดแรกรับ ณ ห้องฉุกเฉินระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 6.82, SD = 1.99) ความรุนแรงของการบาดเจ็บระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 12.46, SD = 4.84) มีการใช้สารเสพติดร้อยละ 55.30 มีภาวะโรคร่วมร้อยละ 18.80 ความรุนแรงของการบาดเจ็บและการใช้สารเสพติดสามารถทำนายความรุนแรงของความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (gif.latex?\beta = .373, p < .001, and gif.latex?\beta = .304, p < .001 ตามลำดับ) แต่ความปวดแรกรับ ณ ห้องฉุกเฉิน และภาวะโรคร่วมไม่สามารถทำนายได้ สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ความรุนแรงของการบาดเจ็บและการใช้สารเสพติดสามารถทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล ดังนั้นพยาบาลควรตระหนักถึงความปวดเฉียบพลันและจัดการความปวดที่เหมาะสมในกลุ่มที่มีการบาดเจ็บรุนแรง และผู้ป่วยที่ใช้สารเสพติด Purpose: This research aimed to investigate the predictive power of pain on arrival at emergency department, severity of injury, substance use, and comorbidity on pain in trauma patients before hospital discharge. Design: Correlational predictive design. Methods: The sample consisted of 85 patients who were treated at emergency department and admitted to surgery departments at secondary and tertiary hospitals in Saraburi and Lopburi province. The research intruments used for data collection were demographic data, injury and treatment form, injury severity score, substance use questionaire, comorbidity questionaire, and brief pain inventory. Data analysis was performed by using stepwise regression method. Main findings: The result revealed that the participants had moderate score on pain intensity before hospital discharge (gif.latex?\bar{X} = 4.53, SD = 1.30), pain interference (gif.latex?\bar{X} = 5.42, SD = 1.52), pain on arrival at emergency department (gif.latex?\bar{X} = 6.82, SD = 1.99), and severity of injury (gif.latex?\bar{X} = 12.46, SD = 4.84). Substance use and comorbidity were found in 55.30% and 18.80% of the participants, respectively. Severity of injury and substance use could significantly predict pain intensity in trauma patients before hospital discharge (gif.latex?\beta = .373, p < .001, and gif.latex?\beta = .304, p < .001, respectively), whereas, pain on arrival at emergency department and comorbidity could not. Conclusion and recommendations: This finding indicated that severity of injury and substance use could predict pain before hospital discharge. Therefore, nurses should be aware of acute pain and provide proper pain manangement in major trauma patients who have either severe injury or substance use. 2020-12-30T08:44:42Z 2020-12-30T08:44:42Z 2563-12-30 2563 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 2 (เม.ย.- มิ.ย. 2563), 59-73 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60624 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf