การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชน กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของระบบบริการตรวจสุขภาพต่อการเรียนรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพภายหลังการตรวจสุขภาพประจำปีของผู้รับบริการ ณ ศูนย์สุขภาพของโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง ระเบียบวิธีการศึกษาเป็นการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การศึกษาเชิงปริมาณเก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้ กลุ่มตัวอย่าง 194 คน ตอบ...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61919 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.61919 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การเรียนรู้พฤติกรรมสุขภาพ ความเข้าใจผลการตรวจสุขภาพประจำปี Learning about health behavior Annual health checkup |
spellingShingle |
การเรียนรู้พฤติกรรมสุขภาพ ความเข้าใจผลการตรวจสุขภาพประจำปี Learning about health behavior Annual health checkup เนตรระวี เพ็ชร์รัตน์ มลินี สมภพเจริญ ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ ธราดล เก่งการพานิช Nedrawee Pedsharat Maleenee Sompomjarean Prasit Leerapan การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชน กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ |
description |
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของระบบบริการตรวจสุขภาพต่อการเรียนรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพภายหลังการตรวจสุขภาพประจำปีของผู้รับบริการ ณ ศูนย์สุขภาพของโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง
ระเบียบวิธีการศึกษาเป็นการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การศึกษาเชิงปริมาณเก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้
กลุ่มตัวอย่าง 194 คน ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง 3 ครั้ง โดย 2 ครั้งแรกเป็นการตอบแบบสอบถามก่อนและ
หลังพบแพทย์ในวันที่มาตรวจสุขภาพ และครั้งที่ 3 ตอบภายหลังการตรวจสุขภาพผ่านไป 1 เดือน วิเคราะห์ข้อมูล
โดยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired t-test ส่วนการศึกษาเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดย
สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับบริการ แพทย์ พยาบาลและผู้ช่วยแพทย์
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจมาตรวจสุขภาพเนื่องจากอยากรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง
มากที่สุด ร้อยละ 64.4 มีค่าเฉลี่ยคะแนนความคาดหวังเรื่องความน่าเชื่อถือของแพทย์และผู้ให้บริการสูงสุด
เท่ากับ 4.59 คะแนน หลังการตรวจสุขภาพกลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เรื่องสุขภาพ ความเข้าใจผลการ
ตรวจ และความตระหนักในพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่มีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรม
สุขภาพไม่แตกต่างจากก่อนตรวจสุขภาพ การศึกษานี้สะท้อนให้เห็นว่าระบบบริการตรวจสุขภาพสามารถสร้างให้
เกิดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักเกี่ยวกับสุขภาพได้ แต่ไม่สามารถส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพแก่ผู้รับบริการเท่าที่ควร ศูนย์ให้บริการตรวจสุขภาพควรมีการวางแผนการให้สุขศึกษาและ
ติดตามพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง โดยจัดกิจกรรมกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
สุขภาพอย่างเหมาะสมจนกว่าผู้รับบริการจะกลับมาตรวจสุขภาพในปีถัดไปเพื่อลดความเสี่ยงและความรุนแรง
ของโรคที่สามารถป้องกันได้ |
author2 |
Tharadol Kenggranpanich |
author_facet |
Tharadol Kenggranpanich เนตรระวี เพ็ชร์รัตน์ มลินี สมภพเจริญ ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ ธราดล เก่งการพานิช Nedrawee Pedsharat Maleenee Sompomjarean Prasit Leerapan |
format |
Article |
author |
เนตรระวี เพ็ชร์รัตน์ มลินี สมภพเจริญ ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ ธราดล เก่งการพานิช Nedrawee Pedsharat Maleenee Sompomjarean Prasit Leerapan |
author_sort |
เนตรระวี เพ็ชร์รัตน์ |
title |
การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชน กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ |
title_short |
การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชน กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ |
title_full |
การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชน กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ |
title_fullStr |
การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชน กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ |
title_full_unstemmed |
การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชน กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ |
title_sort |
การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชน กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ |
publishDate |
2021 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61919 |
_version_ |
1763495345583554560 |
spelling |
th-mahidol.619192023-03-31T05:23:01Z การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชน กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ Private Hospital Annual Health Checkup and Health Behavior Modification of Clients เนตรระวี เพ็ชร์รัตน์ มลินี สมภพเจริญ ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ ธราดล เก่งการพานิช Nedrawee Pedsharat Maleenee Sompomjarean Prasit Leerapan Tharadol Kenggranpanich มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ การเรียนรู้พฤติกรรมสุขภาพ ความเข้าใจผลการตรวจสุขภาพประจำปี Learning about health behavior Annual health checkup การวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของระบบบริการตรวจสุขภาพต่อการเรียนรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพภายหลังการตรวจสุขภาพประจำปีของผู้รับบริการ ณ ศูนย์สุขภาพของโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง ระเบียบวิธีการศึกษาเป็นการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การศึกษาเชิงปริมาณเก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้ กลุ่มตัวอย่าง 194 คน ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง 3 ครั้ง โดย 2 ครั้งแรกเป็นการตอบแบบสอบถามก่อนและ หลังพบแพทย์ในวันที่มาตรวจสุขภาพ และครั้งที่ 3 ตอบภายหลังการตรวจสุขภาพผ่านไป 1 เดือน วิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired t-test ส่วนการศึกษาเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดย สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับบริการ แพทย์ พยาบาลและผู้ช่วยแพทย์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจมาตรวจสุขภาพเนื่องจากอยากรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง มากที่สุด ร้อยละ 64.4 มีค่าเฉลี่ยคะแนนความคาดหวังเรื่องความน่าเชื่อถือของแพทย์และผู้ให้บริการสูงสุด เท่ากับ 4.59 คะแนน หลังการตรวจสุขภาพกลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เรื่องสุขภาพ ความเข้าใจผลการ ตรวจ และความตระหนักในพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่มีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรม สุขภาพไม่แตกต่างจากก่อนตรวจสุขภาพ การศึกษานี้สะท้อนให้เห็นว่าระบบบริการตรวจสุขภาพสามารถสร้างให้ เกิดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักเกี่ยวกับสุขภาพได้ แต่ไม่สามารถส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพแก่ผู้รับบริการเท่าที่ควร ศูนย์ให้บริการตรวจสุขภาพควรมีการวางแผนการให้สุขศึกษาและ ติดตามพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง โดยจัดกิจกรรมกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สุขภาพอย่างเหมาะสมจนกว่าผู้รับบริการจะกลับมาตรวจสุขภาพในปีถัดไปเพื่อลดความเสี่ยงและความรุนแรง ของโรคที่สามารถป้องกันได้ This research was a study on the outcomes of a health checkup system on learning and health behavior modifications in the clients after taking an annual health checkup at a Health Center in a private hospital. Quantitative and qualitative research methods were used to carry out the study. In regard to the quantitative research, data collection was done by using self-administered questionnaires, 3 times using 194 samples, whereby the first 2 times were carried out just before and after seeing the physician with the data of taking the medical checkup being collected and the third time was done 1 month after taking the health checkup. Data analysis was done by computing percentages, arithmetic mean, standard deviation and Paired t-test. For the qualitative research part, the data were collected by conducting in-depth interviews with the clients, physicians, nurses and physician assistants. The study found that the sample clients had decided to take a health checkup because they wanted to know their health status (64.4%) and the mean score of the expectation about the credibility of the physicians and service providers was found to be 4.59. After taking the health checkup, a significantly higher mean score was obtained from the samples in regard to health knowledge, understanding of health checkup results, and awareness about health behaviors, but no significant differences were found about the health behavior mean score prior to and post health checkup. The research results reflected that a health checkup system could help develop knowledge, understanding and awareness about health among clients but could not promote behavioral modifications in clients. Health service centers should plan health education programs and follow-up health behaviors in clients continually by organizing effective activities that could stimulate health behavior modifications in clients until they come back to get health checkups in subsequent years, in order to lower their risks and the severity of preventable diseases. 2021-03-27T12:02:22Z 2021-03-27T12:02:22Z 2564-03-27 2555 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 35, ฉบับที่ 121 (พ.ค.- ส.ค. 2555), 30-44 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61919 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |