แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย : การทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา

การศึกษาเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อที่พัฒนาโดยบรู๊ค และบัลล็อคในปี ค.ศ.1999 จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และศึกษาความตรง และความเที่ยงของแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อ ฉบับภาษาไทย การศึกษาครั้งนี้แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ประกอบด้วย การแปลแบบประ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุภาพ อารีเอื้อ, พิชญ์ประอร ยังเจริญ, Suparb Aree-Ue, Phichpraorn Youngcharoen
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62036
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.62036
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic สมองเสื่อม
ผู้สูงอายุ
ความตรง
ความเที่ยง
แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด
Dementia
Older people
Validity
Reliability
Cognitive function test
spellingShingle สมองเสื่อม
ผู้สูงอายุ
ความตรง
ความเที่ยง
แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด
Dementia
Older people
Validity
Reliability
Cognitive function test
สุภาพ อารีเอื้อ
พิชญ์ประอร ยังเจริญ
Suparb Aree-Ue
Phichpraorn Youngcharoen
แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย : การทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา
description การศึกษาเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อที่พัฒนาโดยบรู๊ค และบัลล็อคในปี ค.ศ.1999 จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และศึกษาความตรง และความเที่ยงของแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อ ฉบับภาษาไทย การศึกษาครั้งนี้แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ประกอบด้วย การแปลแบบประเมิน 6 Item Cognitive Impairment Test เป็นภาษาไทยด้วยวิธีการแปลย้อนกลับ และประเมินความตรงของเนื้อหาโดยคณะผู้เชี่ยวชาญทางผู้สูงอายุและการรู้คิดบกพร่องในผู้สูงอายุ ระยะที่ 2 ประกอบด้วย การตรวจสอบความตรงตามสภาพ และการตรวจสอบความเที่ยงด้านความคงที่ของการวัด กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มาเข้าร่วมกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุ กรุงเทพมหานคร 2 แห่ง ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้าจำานวน 100 ราย กลุ่มตัวอย่างได้รับการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินสมรรถภาพสมองฉบับย่อ Mini-Cog ฉบับภาษาไทย และแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์การคัดเข้าเดิมตอบแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด6 ข้อฉบับภาษาไทยซ้ำใน 2 สัปดาห์ จำนวน 50 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทยมีความตรงเชิงเนื้อหาทั้งรายข้อ และในภาพรวม และมีความตรงตามสภาพ โดยคะแนนแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทยมีความสัมพันธ์ทางลบระดับปานกลางกับคะแนนแบบประเมินสมรรถภาพสมองฉบับย่อ Mini-Cog ฉบับภาษาไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทดสอบความเที่ยงด้านความคงที่ของการวัด ด้วยวิธีการทดสอบและการทดสอบซ้ำ คะแนนสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทยครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยสรุป แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทยเป็นเครื่องมือที่แสดงถึงความเที่ยง และความตรง ซึ่งสามารถนำไปใช้คัดกรองภาวะสมองเสื่อมเบื้องต้นในผู้สูงอายุทั้งในชุมชน และนำไปใช้ในการวิจัยได้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
สุภาพ อารีเอื้อ
พิชญ์ประอร ยังเจริญ
Suparb Aree-Ue
Phichpraorn Youngcharoen
format Article
author สุภาพ อารีเอื้อ
พิชญ์ประอร ยังเจริญ
Suparb Aree-Ue
Phichpraorn Youngcharoen
author_sort สุภาพ อารีเอื้อ
title แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย : การทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา
title_short แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย : การทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา
title_full แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย : การทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา
title_fullStr แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย : การทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา
title_full_unstemmed แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย : การทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา
title_sort แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย : การทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62036
_version_ 1763492830581358592
spelling th-mahidol.620362023-03-30T16:06:06Z แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย : การทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา The 6 Item Cognitive Function Test-Thai Version: Psychometric Property Testing สุภาพ อารีเอื้อ พิชญ์ประอร ยังเจริญ Suparb Aree-Ue Phichpraorn Youngcharoen มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี สมองเสื่อม ผู้สูงอายุ ความตรง ความเที่ยง แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด Dementia Older people Validity Reliability Cognitive function test การศึกษาเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อที่พัฒนาโดยบรู๊ค และบัลล็อคในปี ค.ศ.1999 จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และศึกษาความตรง และความเที่ยงของแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อ ฉบับภาษาไทย การศึกษาครั้งนี้แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ประกอบด้วย การแปลแบบประเมิน 6 Item Cognitive Impairment Test เป็นภาษาไทยด้วยวิธีการแปลย้อนกลับ และประเมินความตรงของเนื้อหาโดยคณะผู้เชี่ยวชาญทางผู้สูงอายุและการรู้คิดบกพร่องในผู้สูงอายุ ระยะที่ 2 ประกอบด้วย การตรวจสอบความตรงตามสภาพ และการตรวจสอบความเที่ยงด้านความคงที่ของการวัด กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มาเข้าร่วมกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุ กรุงเทพมหานคร 2 แห่ง ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้าจำานวน 100 ราย กลุ่มตัวอย่างได้รับการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินสมรรถภาพสมองฉบับย่อ Mini-Cog ฉบับภาษาไทย และแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์การคัดเข้าเดิมตอบแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด6 ข้อฉบับภาษาไทยซ้ำใน 2 สัปดาห์ จำนวน 50 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทยมีความตรงเชิงเนื้อหาทั้งรายข้อ และในภาพรวม และมีความตรงตามสภาพ โดยคะแนนแบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทยมีความสัมพันธ์ทางลบระดับปานกลางกับคะแนนแบบประเมินสมรรถภาพสมองฉบับย่อ Mini-Cog ฉบับภาษาไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทดสอบความเที่ยงด้านความคงที่ของการวัด ด้วยวิธีการทดสอบและการทดสอบซ้ำ คะแนนสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทยครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยสรุป แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อฉบับภาษาไทยเป็นเครื่องมือที่แสดงถึงความเที่ยง และความตรง ซึ่งสามารถนำไปใช้คัดกรองภาวะสมองเสื่อมเบื้องต้นในผู้สูงอายุทั้งในชุมชน และนำไปใช้ในการวิจัยได้ This descriptive study aimed to translate the 6 Item Cognitive Impairment Test (6CIT) that was originally developed by Brooke and Bullock in 1999 from Englishto Thai and to preliminarily examine its validity and reliability. This study included two phases. Phase 1 consisted of translating the 6CIT into Thai using the back translation method and assessing content validity by a panel of experts in gerontology and cognitive impairment in older people. Phase 2 comprised concurrent validity testing and stability reliability testing. Participants in this study were older people who participated in two senior citizens clubs, Bangkok. A hundred older people who met the inclusion criteria were invited to participate in this study. Participants were interviewed using the demographic questionnaire, the Mini-Cog-Thai version, and the 6CIT-Thai version. Fifty participants out of a hundred who had the same inclusion criteria were asked to complete the 6CIT-Thai version again in the next two weeks. Data were analyzed using Spearman’s rank correlation coefficients. The results indicated that the content validity index for item and scale level index reflected its validity. The 6CIT-Thai version showedacceptable concurrent validity. There was a statistically significant moderate negative correlation between the score of the 6CIT-Thai version and the Mini-Cog-Thai version.Also, the stability reliability was validated through the test-retest reliability coefficient and it showed a significant strong positive correlation between a score of the 6CIT-Thai version at the first round and the second round, two weeks apart. In summary, the 6CIT-Thai version has shown to be valid and reliable to use for initial screening for dementia in older adults living in a community and for conducting research. 2021-04-27T04:03:03Z 2021-04-27T04:03:03Z 2564-04-24 2563 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 26, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 189-202 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62036 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf