ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร
การวิจัยเชิงพรรณาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการควบคุมน้ำหนักตัว และปัจจัยทำนายการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นหญิง อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมปีที่ 4-6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทนวงศึกษาธิการในเข...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Original Article |
Language: | Thai |
Published: |
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62208 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.62208 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักตัว นักเรียนหญิง ปัจจัยทำนาย weight control female high school students predictive factors |
spellingShingle |
พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักตัว นักเรียนหญิง ปัจจัยทำนาย weight control female high school students predictive factors มนชยา สมจริต ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ พัชราพร เกิดมงคล อาภาพร เผ่าวัฒนา Monchaya Somjarit Kwanjai Amnatsatsue Patcharapom Kerdmongkol Arpaporn Powwattana Siriprapa Klunklin ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร |
description |
การวิจัยเชิงพรรณาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการควบคุมน้ำหนักตัว และปัจจัยทำนายการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นหญิง อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมปีที่ 4-6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทนวงศึกษาธิการในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 161 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบชั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนหญิงส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักตัวอยู่ในระดับปานกลาง (มีช่วงคะแนน 70-76 คะแนน จากช่วงคะแนนของแบบสอบถามทั้งหมด 23-92 คะแนน) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย คือ การรับรู้สภาวะสุขภาพ ภาวะซึมเศร้า สัมพันธภาพในครอบครัวของบิดาและมารดากับนักเรียนหญิง ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมน้ำหนักตัว และการรับรู้ปัจจัยเอื้อด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพ ปัจจัยที่สามารถทำนายการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิง คือ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมน้ำหนักตัว สัมพันธภาพในครอบครัวของบิดากับนักเรียนหญิง การรับรู้ปัจจัยเอื้อด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานครได้ร้อยละ 18 ผลการวิจัยสามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้นักเรียนหญิงมีการรับรู้ความสามารถในการควบคุมน้ำหนักตัวที่เหมาะสม เน้นการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว การสร้างนโยบายการมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของนักเรียนหญิงมัธยมปลายในโรงเรียนและชุมชน บุคลการในโรงเรียนและพยาบาลประจำในโรงเรียนควรมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักตัวที่ไม่เหมาะสมโดยเฉพาะนักเรียนหญิงที่มีปัญหาครอบครัว หรือมีภาวะซึมเศร้า |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มนชยา สมจริต ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ พัชราพร เกิดมงคล อาภาพร เผ่าวัฒนา Monchaya Somjarit Kwanjai Amnatsatsue Patcharapom Kerdmongkol Arpaporn Powwattana Siriprapa Klunklin |
format |
Original Article |
author |
มนชยา สมจริต ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ พัชราพร เกิดมงคล อาภาพร เผ่าวัฒนา Monchaya Somjarit Kwanjai Amnatsatsue Patcharapom Kerdmongkol Arpaporn Powwattana Siriprapa Klunklin |
author_sort |
มนชยา สมจริต |
title |
ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร |
title_short |
ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร |
title_full |
ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร |
title_fullStr |
ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร |
title_sort |
ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร |
publishDate |
2021 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62208 |
_version_ |
1763489755717173248 |
spelling |
th-mahidol.622082023-03-30T23:18:35Z ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร Factors influencing weight control among female high school students in the Bangkok metropolitan area มนชยา สมจริต ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ พัชราพร เกิดมงคล อาภาพร เผ่าวัฒนา Monchaya Somjarit Kwanjai Amnatsatsue Patcharapom Kerdmongkol Arpaporn Powwattana Siriprapa Klunklin มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักตัว นักเรียนหญิง ปัจจัยทำนาย weight control female high school students predictive factors การวิจัยเชิงพรรณาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการควบคุมน้ำหนักตัว และปัจจัยทำนายการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นหญิง อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมปีที่ 4-6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทนวงศึกษาธิการในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 161 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบชั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนหญิงส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักตัวอยู่ในระดับปานกลาง (มีช่วงคะแนน 70-76 คะแนน จากช่วงคะแนนของแบบสอบถามทั้งหมด 23-92 คะแนน) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย คือ การรับรู้สภาวะสุขภาพ ภาวะซึมเศร้า สัมพันธภาพในครอบครัวของบิดาและมารดากับนักเรียนหญิง ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมน้ำหนักตัว และการรับรู้ปัจจัยเอื้อด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพ ปัจจัยที่สามารถทำนายการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิง คือ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมน้ำหนักตัว สัมพันธภาพในครอบครัวของบิดากับนักเรียนหญิง การรับรู้ปัจจัยเอื้อด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักตัวของนักเรียนหญิงมัธยมปลาย ในเขตกรุงเทพมหานครได้ร้อยละ 18 ผลการวิจัยสามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้นักเรียนหญิงมีการรับรู้ความสามารถในการควบคุมน้ำหนักตัวที่เหมาะสม เน้นการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว การสร้างนโยบายการมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของนักเรียนหญิงมัธยมปลายในโรงเรียนและชุมชน บุคลการในโรงเรียนและพยาบาลประจำในโรงเรียนควรมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักตัวที่ไม่เหมาะสมโดยเฉพาะนักเรียนหญิงที่มีปัญหาครอบครัว หรือมีภาวะซึมเศร้า The purpose of this cross-sectional study was to describe weight control among female high school students in Bangkok and to determine predictors of weight control. Data were collected from 161 female high school students who were selected by multi-stage sampling. Data were analyzed using Pearson's correlation analysis and stepwise multiple regression analysis The findings revealed that female high school students in Bangkok reported moderate levels of weight control behavior. Factors related to weight control among female high school students in Bangkok were perceived health status, level of depression, parental bonding, knowledge about weight control, attitudes toward weight control, perceived self-efficacy in controlling weight, perceived enabling factors in assessing accessibility and availability of health services. Three predictive factors towards weight control were: (1) perceived self-efficacy in controlling weight; (2) family relations, particularly father's care and protection; and (3) perceived accessibility and availability of health services; these factors taken together explain 18% of weight control behavior among female high school students in Bangkok. The findings suggest that health promotion activities regarding perceived self-efficacy on weight control should be undertaken with female high school students. Family relations, particularly the father's care and protection, should be strengthened. In addition, school and community policies should encourage the development of more facilities to promote appropriate weight control, such as exercise programs, health food stores, and health promotion activities. In addition, schools should have a screening program for those with family problems or those with depression to evaluate the levels of weight control among such students. 2021-05-18T06:18:01Z 2021-05-18T06:18:01Z 2564-05-18 2556 Original Article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 11, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2556), 3-17 1905-1387 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62208 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |