การจัดทําแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในงานสาธารณสุข ตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์
ตารางเหตุผลสัมพันธ์ เป็นเครื่องมือสำหรับผู้รับผิดชอบจัดทำแผนงานโครงการ สรุปเนื้อหาสาระของแผนงาน โครงการลงในตาราง 4 แถวในแนวตั้ง และ 4 แถวในแนวนอน ที่เน้นผลของการดำเนินงานที่ต้องการให้เกิด กลวิธีการ ดำเนินงาน ดัชนีวัดความสำเร็จ และแหล่งข้อมูลหรือวิธีการตรวจสอบความสำเร็จ เนื่องจากต้นฉบับของตารางเหตุ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62869 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.62869 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ตารางเหตุผลสัมพันธ์ แผนงานโครงการ โครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ งานสาธารณสุข Logical Framework Program planner Health program Health education strategies Thai Journal of Health Education |
spellingShingle |
ตารางเหตุผลสัมพันธ์ แผนงานโครงการ โครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ งานสาธารณสุข Logical Framework Program planner Health program Health education strategies Thai Journal of Health Education มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ Manirat Therawiwat การจัดทําแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในงานสาธารณสุข ตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ |
description |
ตารางเหตุผลสัมพันธ์ เป็นเครื่องมือสำหรับผู้รับผิดชอบจัดทำแผนงานโครงการ สรุปเนื้อหาสาระของแผนงาน
โครงการลงในตาราง 4 แถวในแนวตั้ง และ 4 แถวในแนวนอน ที่เน้นผลของการดำเนินงานที่ต้องการให้เกิด กลวิธีการ
ดำเนินงาน ดัชนีวัดความสำเร็จ และแหล่งข้อมูลหรือวิธีการตรวจสอบความสำเร็จ เนื่องจากต้นฉบับของตารางเหตุผล
สัมพันธ์ไม่ได้จัดทำขึ้นเพื่อการวางแผนงานด้านสุขภาพ ดังนั้นในการนำหลักการการจัดทำแผนแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์
ไปใช้ในการวางแผนงานสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ ควรพิจารณาประเด็นต่อไปนี้
1. ระดับของวัตถุประสงค์ในช่อง สาระสำคัญโดยสรุป ที่ปะกอบด้วย ปัจจัยนำเข้า ผลผลิต จุดมุ่งหมาย และ
เป้าประสงค์ ควรปรับเป็น กลวิธีทางสุขศึกษา วัตถุประสงค์เฉพาะ วัตถุประสงค์ทั่วไป และ เป้าประสงค์ จะทำให้เข้าใจ
ตรงกัน
2. แนวคิดผลของโครงการสุขภาพที่ต้องการให้เกิดขึ้นสามารถนำมาใช้ในการกำหนดวัตถุประสงค์ของ
โครงการ คือ ผลกระทบของโครงการที่มีต่อภาวะสุขภาพโดยรวม เช่น การเจ็บป่วย การตาย เป็นต้น และ ภาวะเสี่ยงต่อ
สุขภาพ เช่น ดัชนีมวลกาย ระดับน้ำตาลในเลือด ภาวะเครียด สามารถกำหนดเป็น เป้าประสงค์ของโครงการ สาเหตุด้าน
พฤติกรรมสุขภาพ สามารถกำหนดเป็น วัตถุประสงค์ทั่วไป และ ปัจจัยของพฤติกรรม ได้แก่ ปัจจัยนำ เอื้อ และเสริม
สามารถกำหนดเป็น วัตถุประสงค์เฉพาะ
3. หลักการของ เป้าประสงค์เดียว มีจุดมุ่งหมายเดียว ไม่สามารถนำมาใช้ได้ เนื่องจาก ภาวะสุขภาพหรือ
ภาวะเสี่ยงทางสุขภาพของปัญหาใดปัญหาหนึ่งไม่ได้เกิดจากสาเหตุเดียว แต่เกิดจากสิ่งแวดล้อมและหรือสาเหตุด้าน
พฤติกรรมสุขภาพที่สัมพันธ์กัน ดังนั้นตารางเหตุผลสัมพันธ์ในงานด้านสุขภาพจึงมีวัตถุประสงค์ทั่วไปมากกว่า 1 ได้
4. เป้าประสงค์ของโครงการที่กำหนด จะต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมาย ว่าเป็นกลุ่มป่วยหรือกลุ่มเสี่ยง ป่วยด้วย
โรคติดเชื้อ โรคไร้เชื้อหรือโรคเรื้อรัง
5. กลวิธีทางสุขศึกษาจะต้องสอดคล้องกับปัจจัยของพฤติกรรมหรือของสิ่งแวดล้อมที่กำหนดไว้ใน
วัตถุประสงค์เฉพาะ และ
6. จะต้องตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่าง กลวิธีทางสุขศึกษากับวัตถุประสงค์ของโครงการใน
แนวตั้งแรก โดยใช้คำถามว่าอย่างไร เช่น กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างไร (เป้าประสงค์)
คำตอบที่ได้คือ วัตถุประสงค์ทั่วไปของโครงการ คือการความคุมการบริโภคอาหารหวาน การออกกำลังกายเป็นต้น |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ Manirat Therawiwat |
format |
Article |
author |
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ Manirat Therawiwat |
author_sort |
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ |
title |
การจัดทําแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในงานสาธารณสุข ตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ |
title_short |
การจัดทําแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในงานสาธารณสุข ตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ |
title_full |
การจัดทําแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในงานสาธารณสุข ตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ |
title_fullStr |
การจัดทําแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในงานสาธารณสุข ตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ |
title_full_unstemmed |
การจัดทําแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในงานสาธารณสุข ตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ |
title_sort |
การจัดทําแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในงานสาธารณสุข ตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ |
publishDate |
2021 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62869 |
_version_ |
1763492315852177408 |
spelling |
th-mahidol.628692023-03-31T07:05:21Z การจัดทําแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในงานสาธารณสุข ตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ The Application of Logical Framework Matrix for Health Education and Health Promotion Program Formulation มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ Manirat Therawiwat มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ ตารางเหตุผลสัมพันธ์ แผนงานโครงการ โครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ งานสาธารณสุข Logical Framework Program planner Health program Health education strategies Thai Journal of Health Education ตารางเหตุผลสัมพันธ์ เป็นเครื่องมือสำหรับผู้รับผิดชอบจัดทำแผนงานโครงการ สรุปเนื้อหาสาระของแผนงาน โครงการลงในตาราง 4 แถวในแนวตั้ง และ 4 แถวในแนวนอน ที่เน้นผลของการดำเนินงานที่ต้องการให้เกิด กลวิธีการ ดำเนินงาน ดัชนีวัดความสำเร็จ และแหล่งข้อมูลหรือวิธีการตรวจสอบความสำเร็จ เนื่องจากต้นฉบับของตารางเหตุผล สัมพันธ์ไม่ได้จัดทำขึ้นเพื่อการวางแผนงานด้านสุขภาพ ดังนั้นในการนำหลักการการจัดทำแผนแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ ไปใช้ในการวางแผนงานสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ ควรพิจารณาประเด็นต่อไปนี้ 1. ระดับของวัตถุประสงค์ในช่อง สาระสำคัญโดยสรุป ที่ปะกอบด้วย ปัจจัยนำเข้า ผลผลิต จุดมุ่งหมาย และ เป้าประสงค์ ควรปรับเป็น กลวิธีทางสุขศึกษา วัตถุประสงค์เฉพาะ วัตถุประสงค์ทั่วไป และ เป้าประสงค์ จะทำให้เข้าใจ ตรงกัน 2. แนวคิดผลของโครงการสุขภาพที่ต้องการให้เกิดขึ้นสามารถนำมาใช้ในการกำหนดวัตถุประสงค์ของ โครงการ คือ ผลกระทบของโครงการที่มีต่อภาวะสุขภาพโดยรวม เช่น การเจ็บป่วย การตาย เป็นต้น และ ภาวะเสี่ยงต่อ สุขภาพ เช่น ดัชนีมวลกาย ระดับน้ำตาลในเลือด ภาวะเครียด สามารถกำหนดเป็น เป้าประสงค์ของโครงการ สาเหตุด้าน พฤติกรรมสุขภาพ สามารถกำหนดเป็น วัตถุประสงค์ทั่วไป และ ปัจจัยของพฤติกรรม ได้แก่ ปัจจัยนำ เอื้อ และเสริม สามารถกำหนดเป็น วัตถุประสงค์เฉพาะ 3. หลักการของ เป้าประสงค์เดียว มีจุดมุ่งหมายเดียว ไม่สามารถนำมาใช้ได้ เนื่องจาก ภาวะสุขภาพหรือ ภาวะเสี่ยงทางสุขภาพของปัญหาใดปัญหาหนึ่งไม่ได้เกิดจากสาเหตุเดียว แต่เกิดจากสิ่งแวดล้อมและหรือสาเหตุด้าน พฤติกรรมสุขภาพที่สัมพันธ์กัน ดังนั้นตารางเหตุผลสัมพันธ์ในงานด้านสุขภาพจึงมีวัตถุประสงค์ทั่วไปมากกว่า 1 ได้ 4. เป้าประสงค์ของโครงการที่กำหนด จะต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมาย ว่าเป็นกลุ่มป่วยหรือกลุ่มเสี่ยง ป่วยด้วย โรคติดเชื้อ โรคไร้เชื้อหรือโรคเรื้อรัง 5. กลวิธีทางสุขศึกษาจะต้องสอดคล้องกับปัจจัยของพฤติกรรมหรือของสิ่งแวดล้อมที่กำหนดไว้ใน วัตถุประสงค์เฉพาะ และ 6. จะต้องตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่าง กลวิธีทางสุขศึกษากับวัตถุประสงค์ของโครงการใน แนวตั้งแรก โดยใช้คำถามว่าอย่างไร เช่น กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างไร (เป้าประสงค์) คำตอบที่ได้คือ วัตถุประสงค์ทั่วไปของโครงการ คือการความคุมการบริโภคอาหารหวาน การออกกำลังกายเป็นต้น Logical Framework (Log frame) or Project Planning Matrix (PPM) is a useful planning tool for program planner. It is a presentation of the whole plan in a single “four by four” matrix, provides a summary of what the plan is expected to achieve, how they will be achieved, what are objectively verifiable indicators to assess the achievement, where to get data to do the assessment, and which factors are essential for the success of the plan. Since the origin of logical framework was not developed for health program, the following aspects should be considered. First, the hierarchy of objectives in the Narrative Summary column that consist of Input, Output, Purpose, and Goal should be adapted as Strategies, Specific Objectives, General Objectives, and Goal that should be more comprehend for health program planner. Second, the concept of the four levels of health program products can be used to define the objectives as follows: the morbidity and mortality rate (public health impact) and health risk factors such as BMI, blood sugar level, stress (individual health impact) will be set as “Goal”; health risk factors commonly are health risk behaviors (causes of health) can be specified as “General Objectives”; and factors influencing health behavior (underlying factors) namely predisposing, enabling and reinforcing factors can be specified as “Specific Objective”. Third, the concept of one “Goal” one “Purpose” could not be applied to health program planning, since a health problem is influenced by more than one causes either by environmental or behavioral factors or both and they are interrelated, therefore one goal of health program can has more than one general objectives. Fourth, goal of health program must be related to the target group that usually is categorized as “risk group” or “sick group” and what health problem they are facing either infectious disease or non-infectious disease or chronic disease. Fifth, health education strategies must be corresponded to underlying factors of the behavioral or environmental causes (specific objectives). Sixth, the logical relation of hierarchy of objectives and health education strategies in the Narrative Summary column must be reviewed using “How” question. For example, how the prediabetes risk group can control their blood sugar level? (program goal). The answer will be program general objectives such as consume less sweet food, doing exercise regularly, etc. 2021-07-07T09:37:36Z 2021-07-07T09:37:36Z 2564-07-07 2555 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 35, ฉบับที่ 120 (ม.ค.- เม.ย. 2555), 1-15 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62869 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |